คนล้านนา

พญาผาบ (ปราบสงคราม): ผู้ก่อการร้ายหรือวีรบุรุษ? ตอนที่ 1 แล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฎ

เรื่อง: วรปรัชญ์ เมืองยศ ตอนที่ 1 แล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ เมื่อสยามคืบคลาน จากการเข้ามามีส่วนในการเข้ามามีอำนาจในพื้นที่เชียงใหม่ของรัฐส่วนกลาง  และการเข้ามาของข้าหลวงพิเศษผู้มีอำนาจเต็มเฉกเช่นพระมหากษัตริย์ คือ พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต พ.ศ. 2428...

ล้านนาผู้ถูกกลืนเข้าสู่การปกครองด้วยภาษา

เรื่องและภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี การหลอมรวมรัฐในพื้นที่ดินแดนล้านนากำลังก่อตัวขึ้น เป้าหมายสำคัญที่สุดของรัฐสยาม คือ การสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือที่เรียกกันว่าเป็นการสร้าง “ความเป็นไทย” หากแต่ตอนนั้นสยามยังมีมุมมองต่อล้านนาในลักษณะเป็นอื่น เหตุเพราะไม่มีความใกล้ชิดผูกพัน อีกทั้งสื่อสารกันด้วยภาษาที่ไม่เข้าใจ...

ประวัติศาสตร์ประชาชน 9 พฤศจิกายน 2477 ครบ 88 ปี ครูบาศรีวิชัย “นั่งหนัก” บุกเบิกสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ

9 พฤศจิกายน 2477 หรือเมื่อ 88 ปี ที่แล้ว ถือเป็นฤกษ์งามยามดีที่ครูบาศรีวิชัย ได้ทำการริเริ่มบุกเบิกสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ โดยทำหน้าที่ “นั่งหนัก”...

บทสรุป : เงี้ยวเมืองแพร่ ‘กบฏหรือวีรบุรุษ’ ประวัติศาสตร์ของความย้อนแย้ง​

บทสรุป : เงี้ยวเมืองแพร่ ‘กบฏหรือวีรบุรุษ’ ประวัติศาสตร์ของความย้อนแย้ง​

เงี้ยวเมืองแพร่ ‘กบฏหรือวีรบุรุษ’ ประวัติศาสตร์ของความย้อนแย้ง(4)​

เงี้ยวเมืองแพร่ ‘กบฏหรือวีรบุรุษ’ ประวัติศาสตร์ของความย้อนแย้ง(4)​
spot_img

Popular

เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน เชียงใหม่เป็นเมืองแบบไหนสำหรับคุณ? สำหรับหลายคนแล้ว จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจุดหมายปลายทางในฝัน เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์แห่งล้านนา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยความงดงามทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมา หากมองเผิน...

“นิสิต จิรโสภณ” อดีตผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตั้งคำถามท้าทายความจริง ก่อนการมาถึงของเหตุการณ์ นองเลือด 6 ตุลาคม 2519​

9 มิถุนายน ถือเป็นวันคล้ายวันเกิดของ ‘นิสิต จิรโสภณ’ 1 ในประชาชนที่ต่อสู้เพื่อความจริงและมวลชนอย่างกล้าหาญในยุคแสวงหา เป็นสื่อมวลชนที่กล้าตั้งคำถาม ขับเคลื่อนสังคมในยุคเผด็จการ...

เชียงใหม่เมืองไม่มีอนาคต

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เรียนจบแล้ว จะไปทำงานที่ไหน” “อยากทำงานอยู่เชียงใหม่ แต่คงอยู่ไม่ได้…” บทสนทนาของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังขึ้นข้างหู ทำให้ฉันตั้งคำถามขึ้นมาว่าทำไมมหาวิทยาลัยที่ผลิตนักศึกษาบัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานปีละหลายหมื่นคน แต่ผู้จบการศึกษาจำนวนมากถึงเลือกที่จะไม่อยู่ทำงานในจังหวัดเชียงใหม่...

ล่ามช้างซาวด์ The 𝑺𝒐𝒖𝒏𝒅 𝒐𝒇 𝑳𝒂𝒎𝒄𝒉𝒂𝒏𝒈 โปรเจ็คพื้นที่สาธารณะที่ข้องเกี่ยว “เสียงตามสาย” ของคนในชุมชน ที่เสียงอาจดังไกลกว่าล่ามช้าง

น่ายินดีไม่น้อยที่เราได้เห็นการโคจรมาพบกันระหว่างคนทำงานสร้างสรรค์กับชุมชนที่มาชนกันจนเกิดโปรเจ็คพื้นที่สร้างสรรค์สาธารณะสนุก ๆ ในชื่อ ล่ามช้างซีเล็คชั่น นิทรรศการโดยชุมชน 𝗟𝗔𝗠𝗖𝗛𝗔𝗡𝗚 𝗦𝗘𝗟𝗘𝗖𝗧𝗜𝗢𝗡 𝗔𝗡𝗗 𝗘𝗫𝗛𝗜𝗕𝗜𝗧𝗜𝗢𝗡...