คนล้านนา

แด่ “จรัลล้านนา” ว่าด้วยการประกอบสร้างและผลิตซ้ำอัตลักษณ์ความเป็นล้านนาของศิลปินอย่าง จรัล มโนเพ็ชร

บทความนี้ไม่ได้จัดวางบทบาทและสถานะของ “จรัล มโนเพ็ชร” ว่าเป็นผู้สร้างอัตลักษณ์ความเป็นล้านนาที่ดำรงอยู่อย่างแน่นิ่งตายตัวแต่อย่างใด การนำเสนอของบทความนี้ต้องการที่จะสร้างและสานต่อบทสนทนากับบทความที่ถูกเขียนขึ้นก่อนหน้า ซึ่งได้มีความพยายามในการวิเคราะห์และตรวจตราการสร้างอัตลักษณ์ผ่านบทเพลงของจรัล ผ่าน “มโนทัศน์ล้านนาไทยที่อีหลักอีเหลื่อ” โดยที่ผู้เขียนเองก็ไม่ได้วางอยู่บนการมีเจตจำนงที่จะนำเสนอข้อโต้แย้งต่องานเขียนก่อนหน้า หากแต่ปรารถนานำพาผู้อ่านบทความให้ขยับขยายแง่มุมเพื่อมองให้เห็นฉากหลัง  ...

การขยายอำนาจรัฐสยามในอาณาบริเวณล้านนา: กรณีศึกษาการบังคับใช้กฎหมาย การปกครองคณะสงฆ์

ช่วงทศวรรษที่ 2440 นับว่าเป็นช่วงเวลาสำคัญในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยามกับอาณาบริเวณล้านนา เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวเป็นหมุดหมายของการทำความเข้าใจการผนวกรวมหรือยึดเอาล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยามที่เพิ่งก่อตัวขึ้นมา นัยของการศึกษาความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจปรากฏในลักษณะของการศึกษาความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ เครือข่ายความสัมพันธ์ของชนชั้นนำ การศึกษา และการเข้ามาของวิทยาการสมัยใหม่  อย่างไรก็ดี พื้นที่หนึ่งของความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับล้านนาที่มีความน่าสนใจในการศึกษา...

ประเด็นปัญหาของการเสนอชื่อครูบาศรีวิชัยให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก

เนื่องในวาระครบรอบ 150 ปี ชาตกาลครูบาศรีวิชัยซึ่งจะครบในปี พ.ศ. 2571 ทางมูลนิธิสถาบันครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้ริเริ่มกระบวนการเสนอชื่อครูบาศรีวิชัยให้องค์กรยูเนสโกรับรองให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ซึ่งต้องเริ่มจากการจัดทำเอกสารที่แสดงถึงความโดดเด่นของครูบาศรีวิชัย ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ซึ่งหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าครูบาฯ...

เวียงแก้ว : พระราชวังล้านนา คุกข่มดวงเมือง และมรดกโลกที่ยังมาไม่ถึง

*บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาเครือข่ายการประกอบสร้างความรู้ทางโบราณคดีภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  หลายคนอาจเคยสัญจรผ่านพื้นที่รกร้างขนาดใหญ่กลางเมืองเชียงใหม่ใกล้กับอนุสาวรีย์สามกษัตริย์  ด้านข้างของอำเภอเก่าแล้วนึกสงสัยว่าพื้นที่แห่งนี้คืออะไร เหตุใดยังไม่ถูกจับจองก่อสร้างเพื่อใช้ประโยชน์ สภาพปัจจุบันนั้นรกร้าง ถูกตีปิดด้วยสังกะสีทุกด้าน มองเห็นเพียงอาคารเก่า ๆ...

ไกลศูนย์กลาง: ความอีหลักอีเหลื่อของมโนทัศน์ล้านนาไทยในบทเพลงของ ‘จรัล มโนเพ็ชร’

“เราวิพากษ์คนอื่นโดยหาคู่คัดแย้ง มันง่ายที่จะพูดถึง แต่เราวิพากษ์ตัวเองน้อยเกินไป...” ข้อความข้างบนนี้มาจากปาฐกถาในหัวข้อ “ล้านนาทะลุกรอบอาณานิคม” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ เรืองศรี ภาควิชาประวัติศาสตร์...
spot_img

Popular

เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน เชียงใหม่เป็นเมืองแบบไหนสำหรับคุณ? สำหรับหลายคนแล้ว จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจุดหมายปลายทางในฝัน เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์แห่งล้านนา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยความงดงามทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมา หากมองเผิน...

“นิสิต จิรโสภณ” อดีตผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตั้งคำถามท้าทายความจริง ก่อนการมาถึงของเหตุการณ์ นองเลือด 6 ตุลาคม 2519​

9 มิถุนายน ถือเป็นวันคล้ายวันเกิดของ ‘นิสิต จิรโสภณ’ 1 ในประชาชนที่ต่อสู้เพื่อความจริงและมวลชนอย่างกล้าหาญในยุคแสวงหา เป็นสื่อมวลชนที่กล้าตั้งคำถาม ขับเคลื่อนสังคมในยุคเผด็จการ...

เชียงใหม่เมืองไม่มีอนาคต

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เรียนจบแล้ว จะไปทำงานที่ไหน” “อยากทำงานอยู่เชียงใหม่ แต่คงอยู่ไม่ได้…” บทสนทนาของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังขึ้นข้างหู ทำให้ฉันตั้งคำถามขึ้นมาว่าทำไมมหาวิทยาลัยที่ผลิตนักศึกษาบัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานปีละหลายหมื่นคน แต่ผู้จบการศึกษาจำนวนมากถึงเลือกที่จะไม่อยู่ทำงานในจังหวัดเชียงใหม่...

ล่ามช้างซาวด์ The 𝑺𝒐𝒖𝒏𝒅 𝒐𝒇 𝑳𝒂𝒎𝒄𝒉𝒂𝒏𝒈 โปรเจ็คพื้นที่สาธารณะที่ข้องเกี่ยว “เสียงตามสาย” ของคนในชุมชน ที่เสียงอาจดังไกลกว่าล่ามช้าง

น่ายินดีไม่น้อยที่เราได้เห็นการโคจรมาพบกันระหว่างคนทำงานสร้างสรรค์กับชุมชนที่มาชนกันจนเกิดโปรเจ็คพื้นที่สร้างสรรค์สาธารณะสนุก ๆ ในชื่อ ล่ามช้างซีเล็คชั่น นิทรรศการโดยชุมชน 𝗟𝗔𝗠𝗖𝗛𝗔𝗡𝗚 𝗦𝗘𝗟𝗘𝗖𝗧𝗜𝗢𝗡 𝗔𝗡𝗗 𝗘𝗫𝗛𝗜𝗕𝗜𝗧𝗜𝗢𝗡...