ศิลปะ-ศิลปิน

จาก ‘โรงลิเก/ยี่เกไทยใต้ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา’ สู่ ‘ผามอี่เก’ ล้านนาในลุ่มแม่ระมิงค์ 

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง ศิลปะการแสดงที่ดำรงอยู่และเป็นภาพจำสำคัญซึ่งอยู่คู่สังคมไทยอย่าง ‘ลิเก’ เป็นมหรสพที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ลิเกเป็นศิลปะการแสดงที่สามารถนำเสนอเรื่องราวได้หลายรูปแบบ รูปร่างหน้าตาของผู้แสดงที่มีทั้งพระเอก นางเอก นางร้าย ตัวโกง...

วันที่หายไปในปฏิทิน 19 พฤศจิกายน 2517 ครบรอบ 50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย

เรื่อง: กองบรรณาธิการ 19 พฤศจิกายน 2517 ครบรอบ 50 ปีที่กลุ่มชาวนาได้ก่อตั้ง “สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย (สชท.)” ขึ้น พร้อมคำขวัญ...

ความเชื่อพิธีกรรมการย่นข้าว : ความเปลี่ยนแปลงบ้านหนองอุมลัว หมู่ 6 ตำบลโพนสูง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

เรื่อง: ธีรภัทร์ แก้วกัณหา และปวีณา บุหร่า* ความนำ บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาความเชื่อการย่นข้าว พิธีกรรม และความเปลี่ยนแปลงของการย่นข้าวของชาวบ้าน บ้านหนองอุมลัว หมู่ 6...

ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์ ครูและมิตรรักชาวไท(ย) จากพ่อใหญ่คายส์บ้านหนองตื่นในอีสานสู่สนามแม่สะเรียงและเชียงใหม่ 

เรื่อง : ป.ละม้ายสัน สนามอยู่ที่ไหน? เป็นคำถามที่สำคัญข้อหนึ่งของนักมานุษยวิทยาในการศึกษาคนอื่นหรือแม้กระทั่งศึกษาตนเอง จนมีหนังสือในประเด็นเกี่ยวกับการสะท้อนย้อนคิดในสนามของนักมานุษยวิทยาเป็นจำนวนมากทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การเขียนถึงสนามในโลกภาษาไทยก็มีอยู่จำนวนหนึ่งอาทิเช่น คนใน : ประสบการณ์ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย อีกเล่มที่น่าสนใจไม่แพ้กันก็คือหนังสือรวมบทความการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาในปี 2566 ที่สะท้อนย้อนคิดเกี่ยวกับตนเองในการเข้าไปทำวิจัยภาคสนามเรื่อง...