คนล้านนา

เมื่อจารีตแบบเดิมไปไม่ได้กับการเมือง ผู้คนจึงข้ามแดน: สะท้อนย้อนคิดประเด็นปัญหาเรื่อง “ลื้อข้ามแดน”

เรียบเรียง: ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ เนื้อหาจากการบรรยายพิเศษระดับปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่องสะท้อนย้อนคิด “ประเด็นปัญหา” ในการศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนา ในหัวข้อ “ลื้อข้ามแดน” บรรยายโดย...

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: อำลาด้วยอาลัย ศิลปินนักร้องเพลงไตย ผู้ขับเคลื่อนการเมืองวัฒนธรรมผู้ยิ่งใหญ่นาม “จายสายมาว”

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง “จายสายมาว” ชื่อเสียงเรียงนามนี้คงเป็นที่คุ้นหูหรืออยู่ในความทรงจำของผองคนชนไทใหญ่ในฐานะศิลปินเพลงที่ได้รับความนิยมมากที่สุด “จาย” หรือ “ชาย”นั้น เป็นคำนำหน้านามเรียกชื่อของ “พ่อชายคนไตย” เฉกเช่นเดียวกับคนว่า “นาง”...

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: นโยบายด้านภาษีที่ไม่ลงรอยกับวิถีชีวิตชาวนาสู่การต่อต้านของชาวนาและกบฏพญาผาบ

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง การปฏิรูประบบราชการแผ่นดินจากดินแดนประเทศราชล้านนามาสู่การปกครองในรูปแบบมณฑลพายัพของรัฐบาลสยาม ดำเนินการผ่านการรวมศูนย์อำนาจและลดทอนอำนาจจากเหล่าบรรดาเจ้านายท้องถิ่นในล้านนาตามขนบของรัฐจารีตแบบดั้งเดิมเพื่อดำเนินการจัดการปกครองตามขนบของรัฐสมัยใหม่เข้ามาแทนที่ โดยมีการปรับเปลี่ยนนโยบายด้านภาษีในรูปแบบใหม่ซึ่งได้มีการปรับปรุงหลายวาระในเรื่องกฎเกณฑ์ ข้อบังคับและพระราชบัญญัติที่ประกาศออกมานับแต่ปี พ.ศ.2427  สิ่งเหล่านี้ได้ก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อผู้คนทั่วไปในสังคมล้านนาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ชาวนา” ที่ต้องมีการปรับตัวเพื่อแบกรับภาระในด้านภาษีที่มีมากเกินกว่ากำลัง สำหรับชนชั้นนำในสังคมล้านนานั้นก็ถือได้ว่ามีสถานะเป็นผู้กอบโกยผลประโยชน์จากแรงงานและและผลผลิตส่วนเกินในรูปของภาษีอากร...

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา : ศิลปินแห่งชาติ/ศิลปินแห่ง(ล่อง)น่าน: จาก “ไชยลังกา เครือเสน” สู่ “คำผาย นุปิง” เล่าเรื่องซอเมืองน่านและอัตลักษณ์ความเป็นน่าน

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง น่าจะหลายกรรมหลายวาระแล้ว ที่ผู้เขียนมักนำเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเพลงพื้นบ้านล้านนาและศิลปินเพลงล้านนาผ่านช่องพื้นที่เว็ปไซต์ Lanner แห่งนี้ แต่อย่าเพิ่งเบื่อหรือ “อิ่มหน่ายก้ายจัง” กันเลยนะท่านทั้งหลาย   ...

กลุ่มฮักเมืองแจ๋ม: การต่อสู้ของชาวบ้านในปัญหาการช่วงชิงทรัพยากรป่าสนวัดจันทร์

ช่วงทศวรรษ 2530 ถึงกลางทศวรรษ 2540 เป็นช่วงเวลาที่การเมืองภาคประชาชนก่อตัวขึ้นมา และมีพลวัตอย่างมากโดยเฉพาะหลังปี 2535 จนถึงการมีส่วนร่วมในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ช่วงเวลาดังกล่าวยังเป็นช่วงที่ระบบทุนกำลังขยายตัวลงสู่พื้นที่ชนบท นั่นหมายความว่าการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งที่เกิดขึ้นจะไม่เพียงการต่อรองกับอำนาจเพื่อสิทธิของชาวบ้าน...