คนล้านนา

คนเหนือเดือนตุลา: ‘ใบไม้ไหว’ เพลงของ “จรัล มโนเพ็ชร” บาดแผลในความทรงจำในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม 2516

เราอาจจะรู้จัก “จรัล มโนเพ็ชร” ในฐานะของศิลปินชาวเชียงใหม่ ผู้ยกระดับให้เพลงภาษาคำเมือง จนพัฒนาแนวเพลงที่เราเรียกกันจนติดปากว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ส่งผ่านความทรงจำผ่านเสียงเพลงมาร่วม 4 ทศวรรษ แม้บทเพลงส่วนใหญ่ของจรัลจะมุ่งสื่อสารไปที่สภาพแวดล้อม วิถีและบริบทในชีวิตประจำวันที่เกิดขึ้นของคนในพื้นที่ล้านนา...

จิตร ภูมิศักดิ์กับคนเมือง เมื่อ ‘คนล้านนา’ ถูกเหยียดหยาม การนิยามใหม่จึงบังเกิด

25 กันยายน 2473 เป็นวันเกิดของ จิตร ภูมิศักดิ์ ปัญญาชนนักปฏิวัติ นักประวัติศาสตร์และนิรุกติศาสตร์ คนสำคัญของไทย ผู้มีอิทธิพลทางความต่อนักเคลื่อนไหวทางสังคมตั้งแต่อดีตมาจนปัจจุบัน รวมไปถึงเป็นผู้วางรากฐานทางความคิดที่ส่งต่อมาจนถึงปัจจุบัน แม้ในช่วงชีวิตของจิตร...

ก่อนจะมาเป็น ‘งานสืบสานตำนานไทลื้อ’ ย้อนดูการรื้อฟื้นสำนึกทางประวัติศาสตร์ไทลื้อ อ.เชียงคำ จ.พะเยา

เรื่อง: กมลชนก เรือนคำ จังหวัดพะเยา โดยเฉพาะอำเภอเชียงคำและอำเภอภูซาง มีคนไทยเชื้อสายไทลื้ออาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก  ซึ่งกลุ่มชนเหล่านี้มีวิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรม เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นมาช้านาน 'งานสืบสานตำนานไทลื้อ' ได้รับการยกย่องว่าเป็นอัตลักษณ์ด้านประเพณีที่สำคัญของจังหวัดพะเยา ถูกจัดขึ้นเป็นครั้งแรกปี...

จาก ศรีเชียงใหม่ ถึง คนเมือง: สื่อหนังสือพิมพ์กับความคิดท้องถิ่นนิยมล้านนายุคแรกเริ่ม

เรื่อง: พริษฐ์ ชิวารักษ์ หากปัจจุบันนี้ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) มีทรงอิทธิพลต่อความคิดความอ่านของสังคมอย่างไร สื่อสิ่งพิมพ์โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ก็เคยทรงอิทธิพลต่อความคิดความอ่านของสังคมอย่างนั้นในโลกอดีตก่อนการผงาดขึ้นของอินเตอร์เน็ตและการเผยแพร่ภาพและเสียง ในโลกยุคนั้น หนังสือพิมพ์มิได้เป็นเพียงสื่อกลางในการรายงานข่าวสารที่เกิดขึ้นรายวันเท่านั้น แต่ยังเป็นช่องทางนำเสนอแนวคิดหรือข้อคิดเห็นต่อประเด็นต่าง...

29 ปี การจากไปของ ‘เเก้วตาไหล’ ตำนานช่างซอล้านนาผู้สะท้อนเสียงของผู้คนด้วยเพลงซอจนวาระสุดท้ายของชีวิต

เมื่อวันที่ 10 กันยายนที่ผ่านมา ถือเป็นวาระครบรอบ 29 ปีการจากไปของ ตาไหล กันทะจันทร์ หรือ ‘พ่อเเก้วตาไหล’ ศิลปินซอชั้นครูผู้เลื่องชื่อของจังหวัดลำพูน...