หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
City
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
go
Search
City
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
go
Search
ความคิดเห็น
ล้านนา World: ความหวังของคนท้องถิ่นในแม่ฮ่องสอน
‘แม่ฮ่องสอน’ วิมานจนของคนซวย
“คงจะดีถ้าฟรีแลนซ์มีกฎหมายคุ้มครองบ้าง” จดหมายเปิดผนึกหนุนแรงงานสร้างสรรค์ ยันแรงงานไม่ใช่เครื่องมือผลิตสินค้า เหตุไม่ได้ค่าจ้างแถมโดนฟ้อง
บวชเรียน ทางเลือกที่อยากจะมีชีวิตที่ดีกว่านี้
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย ยังเป็นหนึ่งปัญหาสำคัญที่ยังไม่สามารถแก้ไขให้เสร็จสิ้น แม้ว่ารัฐบาลและหลายหน่วยงานจะพยายามระดมสรรพกำลังลงไปแก้ปัญหา พร้อมทั้งหาแนวทางช่วยเหลือผ่านนโยบายหลายอย่าง แต่ท้ายที่สุดก็ยังพบจำนวนในประเทศอีกจำนวนมาก ยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังใหญ่ที่ยังไม่ได้รับการดูแล และยังคงเพิ่มจำนวนคนจนขึ้นเรื่อย ๆ จนทำให้เยาวชนไทยบางกลุ่มไม่ได้รับโอกาสทางด้านการศึกษา เนื่องจากฐานะของครอบครัวยากจน และสิ่งที่เกิดใหม่ในยุคปัจจุบัน คือ เด็กไม่ชอบระบบการเรียนการสอน และรูปแบบการเรียนการสอนที่ตายตัว อรรถพล สังขวาสี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เคยให้สัมภาษณ์ไว้ ว่าการไม่ชอบระบบการศึกษา และเทรนด์การไม่เรียน ไม่ทำงาน เป็นปัญหาใหม่...
มองมลายูผ่านเสื้อผ้า ความแตกต่างไม่ใช่ปัญหา
กลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมในสามจังหวัดชายแดนใต้ส่วนใหญ่มีการแต่งกายด้วยชุดมลายูเพื่อแสดงอัตลักษณ์มลายู ซึ่งในสายตาคนทั่วไปอาจจะมองว่าเป็นอนุรักษ์นิยม หรืออะไรก็แล้วแต่ แต่ผู้เขียนอยากชวนมารับฟังความคิดเห็นของคนมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ เพื่อเข้าใจ และทลายชุดความคิดเก่าที่อาจเป็นข้อคลาดเคลื่อนนำไปสู่ความเข้าใจผิดจากความจริง จึงเป็นหน้าที่ของผู้เขียนที่ต้องอธิบายเท่าความรู้ ความสามารถที่มีอันนำไปสู่แนวคิดเชิงสังคม แน่นอนเรื่องราวที่ผู้เขียนได้จารึกเป็นลายลักษณ์อักษร ไม่อาจสรุปได้ว่ามีแนวทางการปฏิบัติอย่างไรหรือมีแนวทางไหนดีที่สุด โดยปราศจากความสำคัญหรือแก่นเรื่องที่สามารถตกตะกอนทางความคิดให้ผู้อ่านได้ปรับเปลี่ยนมุมมองหรือสวมบทบาทเข้าถึงความรู้สึกของตัวละครผ่านบทสัมภาษณ์ คำว่า...
‘นายูไหลไปรามฯ’ การโบยบินอ(ยาก)จะกลับของแวรุงชายแดนใต้ ตอนที่ 1
ชายหนุ่มพูดภาษามลายู หญิงคลุมฮิญาบ เดินขวักไขว่ไปมาสองข้างถนนในซอยรามคำแหง 53 ตัดสลับกับภาพร้านรวงที่ตั้งโต๊ะขายข้าวยำ ขนมจือปุ ขนมเจะเเมะ และรถมอเตอร์ไซค์จอแจสวมป้ายทะเบียนปัตตานี ยะลา หรือนราธิวาส เหล่านี้คือภาพฉากที่สามารถพบเจอได้เป็นปกติทุกครั้งที่เดินทางผ่านไปย่านหน้ามหาวิทยาลัยรามคำแหง...
‘เอาะ มึ โอะเก’ เมื่ออาหารคือภาษาสามัญ บนพื้นที่กลางของเยาวชนชาติพันธุ์ที่ฝันเปลี่ยนแปลงสังคม
“เอาะ มึ โอะเก” เป็นภาษาปกาเกอะญอที่มีความหมายว่า มาร่วมมื้ออาหารอย่างเอร็ดอร่อยด้วยกัน เป็นเหมือนการเชื้อเชิญที่แสนสามัญ นอกจากความหมายดังกล่าวแล้ว ยังเป็นชื่อของกิจกรรม 'Equal space :...
จังหวัดเชียงใหม่กับการแก้ปัญหาไฟป่า-PM2.5 และ FireD (ไฟดี) ในปี 2567
หากย้อนกลับไปดูมาตรการแก้ไขปัญหาไฟป่าและฝุ่นควัน PM 2.5 ของ จังหวัดเชียงใหม่ ในหลายปีที่ผ่านมา มีแนวทางสำคัญคือ “ห้ามเผา ใครเผาโดนจับ” โดยในปี 2566...
1
...
26
27
28
...
83
Page 27 of 83