ความคิดเห็น

‘เด็กเอ็น’ กับเศรษฐกิจแห่งความเหงา

ผู้ประกอบอาชีพให้ความสนุกสนาน (เอ็นเตอร์เทรน) หรือ “เด็กเอ็น” หลายคนคงเคยได้ยินชื่ออาชีพที่ว่านี้ เราอาจจินตนาการถึงผู้ที่ทำหน้าที่ให้บริการลูกค้า ทำตั้งแต่ชงเหล้า พูดคุย และสังสรรค์เพื่อให้ความสนุกลูกค้า แต่อาชีพเด็กเอ็นเป็นอาชีพที่ให้คำจำกัดความได้ยาก เนื่องจากขอบเขตของการทำงานในอาชีพนี้ไม่ความชัดเจนนัก...

ประวัติศาสตร์สังคมพหุวัฒนธรรมของผู้คนในพื้นที่เมืองและชานเมืองเชียงใหม่: หม้อหลอมรวมใบใหญ่ในกระแสธารทุนนิยม การพัฒนาเมืองและผู้คนที่หลากหลาย

ความนำ “เชียงใหม่” ดินแดนที่ใครๆ ต่างก็มีความฝันใฝ่อยากใคร่มาอยู่เหย้า เมืองที่มีรากเหง้าและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่สืบต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน ในอดีตเชียงใหม่เคยมีฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรม การค้าในภาคพื้นทวีป ทั้งยังมีความมั่นคงทางการเมืองซึ่งมีฐานะเป็นรัฐอิสระที่สร้างและแผ่ขยายชุมชนทางการเมืองในราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมาอย่างแข็งขัน (โดยเฉพาะช่วงรัฐจารีตยุคราชวงศ์มังราย) พญามังรายปฐมกษัตริย์ของเมืองแห่งนี้ได้เลือกชัยภูมิที่มีความเหมาะสมอันเป็นอาณาบริเวณใกล้เคียงอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มระหว่างเทือกเขาผีปันน้ำอยู่ด้านทิศตะวันออกและเทือกเขาถนนธงชัยอยู่ด้านทิศตะวันตกโดยมีแม่น้ำแม่ปิง...

ภาพเล่าเรื่อง: ท่าขี้เหล็ก เมืองที่เปลี่ยนแปลงไป

เมืองท่าขี้เหล็ก เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในบริเวณชายแดนของรัฐฉาน ประเทศเมียนมา อยู่กับติดกับบริเวณพื้นที่ชายแดนอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การข้ามแดนจะข้ามที่ด่านอำเภอแม่สาย โดยมีสะพานที่ข้าม “แม่น้ำสาย” ที่กั้นระหว่างสองประเทศ ในจุดแบ่งเขตพรมแดน คือ ประตูกลางสะพาน สิ่งแรกที่สามารถเห็นถึงความหลากหลายของกลุ่มคนในพื้นที่ชายแดนแห่งนี้ ในระหว่างทางข้ามแดนสังเกตได้ว่าป้ายโฆษณาโรงแรมทั้งสองข้างทาง ในป้ายโฆษณานั้นจะมีทั้งภาษาเมียนมาและภาษาอังกฤษ...

‘ท่าขี้เหล็ก’ เมืองที่เปลี่ยนแปลงไป

เมืองท่าขี้เหล็กและคนกลุ่มต่าง ๆ ก่อนการมาของจีนใหม่ เมืองชายแดนท่าขี้เหล็ก มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดกำเนิดเกิดขึ้นจากการอพยพโยกย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนหลากหลายกลุ่ม นับตั้งแต่ขยายอำนาจของบรรดาเจ้านครรัฐในยุคก่อนอาณานิคม จนถึงยุคของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงในยุคของสงครามกลางเมืองในประเทศจีน ด้วยเหตุที่เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ชายแดนที่มีการอพยพไปมาของผู้คน...

‘ครูบาเจ้าศรีวิชัย’ รูปที่มีทุกบ้าน

21 กุมภาพันธ์ 2567 ครบรอบ 86 ปี ครูบาเจ้าศรีวิชัย มรณภาพ นักบุญแห่งล้านนาที่ประชาชนให้ความเลื่อมใส ศรัทธาในตัวนักบุญล้านนาผู้นี้มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่สร้างคุณูปการต่อวงการสงฆ์ของล้านนาเป็นอย่างมาก...