ความคิดเห็น

‘เจ้า-ข้าฟ้าเดียวกัน’ บทระลึกถึง นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผ่านแง่มุมเสรีภาพทางศิลปะ

เรียบเรียง: นลินี ค้ากำยาน “เจ้า-ข้าฟ้าเดียวกัน อาจารย์นิธิเคยอ้างอิงบทกวีของศรีปราชญ์ในการพูดถึงเสรีภาพของศิลปะ โดยมีใจความสำคัญคือความเท่าเทียมกันในการดำรงอยู่ของความเป็นมนุษย์ ไม่ว่าพวกเราจะอยู่ในความสัมพันธ์ทางสังคมแนวระนาบหรือแนวดิ่ง เราทุกคนล้วนมีความเท่าเทียมกันภายใต้ท้องฟ้าเดียวกัน ดั้งนั้น มนุษย์จึงมีเสรีภาพในการแสดงออกและแสดงความคิดเห็นทางศิลปะที่เท่าเทียมกัน” 2 กันยายน 2566...

‘ประชาสังคมภายใต้เงื่อนไขใหม่’ จากนิธิ เอียวศรีวงศ์ สู่การเมืองคนจนและการไปต่อ

26 สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมามีการจัดเสวนา “เวทีประชาสังคม : ภายใต้เงื่อนไขใหม่” เนื่องในโอกาสรำลึกการจากไปเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2566...

สักไพรที่ใกล้ฝั่ง กับความหวังเปลี่ยน เบี้ย เป็น บำนาญ ผ่านรัฐธรรมนูญ

เรื่องและภาพ: ลักษณารีย์ ดวงตาดำ บำนาญกับรัฐธรรมนูญเกี่ยวข้องกันอย่างไร? ฟังเสียงนักประชาธิปไตยวัยเกษียณแห่งเมืองไม้สัก ที่เคยลงประชามติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ 60 ด้วยความตื่นรู้ และในการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมาได้เลือกพรรคฝั่งประชาธิปไตยที่เคยให้คำมั่นสัญญากับประชาชนไว้ว่าจะแก้ไขปัญหาปากท้องพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยความหวัง...

เราคือคณะก่อการล้านนาใหม่ นี่คือการเรียกคืนสิทธิจัดการตนเองจากรัฐผู้ฉกฉวย 

เรื่องและภาพ: ณัฐชลี สิงสาวแห “คณะก่อการล้านนาใหม่” ก่อกำเนิดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ซึ่งถูกเรียกว่าภาคเหนือ ผืนดินที่อยู่ทาง “ทิศเหนือของกรุงเทพฯ” เมืองหลวงแห่งประเทศไทย พื้นที่แห่งนี้เต็มไปด้วยภูเขา ป่าไม้ แม่น้ำ...

ส่องเบื้องหลัง: ผลเลือกตั้ง ‘พะเยา’ ทำไมไม่ ‘สีส้ม’ และ ‘ธรรมนัส’ คนสีเทา ที่คนพะเยารัก

เรื่อง: กมลชนก เรือนคำ เมื่อการมองผ่านแว่นของคนเมืองหรือคนกรุงเทพฯ อาจมองเรื่องซับซ้อนของจังหวัดอื่นๆ ไม่ชัดเจน เช่น คนกรุงเทพฯ ต้องการคนโปร่งใส มีคุณธรรม เข้าสู่การเมือง แต่หลายๆ...