ความคิดเห็น

“ผมไม่ได้จะบอกว่าสงครามมันดีนะ เพียงแต่ผมอยากจะนำเสนอสิ่งที่พวกเราอาจจะไม่เห็นจากมัน”

15 กันยายน 2565 ศ.ดร.นิติ ภวัครพันธุ์ กล่าวเสวนาในช่วงสุดท้ายของงานรับเรือนสหายทางศิลปะ และนิทรรศการ “Cold War : the mysterious”...

“เริ่มสยามสมัยใหม่ : เหตุผลนิยมแบบพุทธมนุษยนิยมใต้สมมติราชนิติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และลัทธิอาณานิคมของเจ้ากรุงเทพฯ”

14 กันยายน 2565 เหตุผลนิยมแบบพุทธมนุษยนิยมใต้สมมติราชนิติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และลัทธิอาณานิคมของเจ้ากรุงเทพฯ โดย ธงชัย วินิจจะกูล ​ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดเวทีบรรยายพิเศษในหัวข้อ "เริ่มสยามสมัยใหม่ : เหตุผลนิยมแบบพุทธมนุษยนิยมใต้สมมติราชนิติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และลัทธิอาณานิคมของเจ้ากรุงเทพฯ"...

“นักประวัติศาสตร์จะสำนึกอยู่ตลอดเวลา ว่าตัวเองเป็นนักเขียน รู้ว่าการเป็นนักประวัติศาสตร์คือการเขียน การเล่า ซึ่งมันไม่เหมือนกับการเล่าในแบบของการใช้สื่อ”

14 กันยายน 2565 รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร เปิดการเสวนาด้วยการเปรียบเทียบงานศิลปะกับงานเขียนเชิงวิชาการ ในแง่ของการสื่อสาร งานศิลปะช่วยเพิ่มความรับรู้ที่ผู้รับสื่อมีต่อโลก ในแบบที่งานเขียนไม่สามารถทำได้ หนึ่งในวิธีการสร้างสื่อศิลปะที่ รศ.ดร.ยุกติ กล่าวถึง...

“เราอาจจะรู้จักสงครามเย็นไม่มากพอ”

13 กันยายน 2565 รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ กล่าวเปิดและเสริมด้วยการยกตัวอย่างตอนที่ตนถามนักศึกษาในรายวิชาของตัวเองเกี่ยวกับกลุ่มเขมรแดง แต่ไม่มีใครรู้จักหรือทราบรายละเอียดของกลุ่มดังกล่าว ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีบทบาทในยุคสงครามเย็น และมีความเกี่ยวข้องกับประเทศไทยในตอนนั้น แม้ว่าจะกลายเป็นข่าวโด่งดังไปทั่วโลกก็ตาม ซึ่งตนย้ำว่านี่แสดงให้เห็น ว่าเรารู้จักตัวตน...

ยุคการเปลี่ยนผ่านการคมนาคมจากพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลสู่พลังงานไฟฟ้า และการปรับตัวของเมืองเชียงใหม่

10 กันยายน 2565 กระเเสสงครามยูเครน-รัสเซีย ในปัจจุบันส่งผลอย่างมากต่อราคาพลังงานของโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อเพลิงฟอสซิลในช่วงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา คนไทยโดยเฉพาะประชาชนในแถบพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยจะประสบปัญหาราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลสูงกว่าภูมิภาคอื่น ทำให้ผู้ประกอบการทุกภาคธุรกิจได้รับผลกระทบ สังเกตเห็นได้ชัดจากการคืนเช่ารถของผู้ประกอบการรถสี่ล้อแดง เมื่อวันที่...
spot_img

Popular

เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน เชียงใหม่เป็นเมืองแบบไหนสำหรับคุณ? สำหรับหลายคนแล้ว จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจุดหมายปลายทางในฝัน เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์แห่งล้านนา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยความงดงามทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมา หากมองเผิน...

“นิสิต จิรโสภณ” อดีตผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตั้งคำถามท้าทายความจริง ก่อนการมาถึงของเหตุการณ์ นองเลือด 6 ตุลาคม 2519​

9 มิถุนายน ถือเป็นวันคล้ายวันเกิดของ ‘นิสิต จิรโสภณ’ 1 ในประชาชนที่ต่อสู้เพื่อความจริงและมวลชนอย่างกล้าหาญในยุคแสวงหา เป็นสื่อมวลชนที่กล้าตั้งคำถาม ขับเคลื่อนสังคมในยุคเผด็จการ...

เชียงใหม่เมืองไม่มีอนาคต

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เรียนจบแล้ว จะไปทำงานที่ไหน” “อยากทำงานอยู่เชียงใหม่ แต่คงอยู่ไม่ได้…” บทสนทนาของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังขึ้นข้างหู ทำให้ฉันตั้งคำถามขึ้นมาว่าทำไมมหาวิทยาลัยที่ผลิตนักศึกษาบัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานปีละหลายหมื่นคน แต่ผู้จบการศึกษาจำนวนมากถึงเลือกที่จะไม่อยู่ทำงานในจังหวัดเชียงใหม่...

ล่ามช้างซาวด์ The 𝑺𝒐𝒖𝒏𝒅 𝒐𝒇 𝑳𝒂𝒎𝒄𝒉𝒂𝒏𝒈 โปรเจ็คพื้นที่สาธารณะที่ข้องเกี่ยว “เสียงตามสาย” ของคนในชุมชน ที่เสียงอาจดังไกลกว่าล่ามช้าง

น่ายินดีไม่น้อยที่เราได้เห็นการโคจรมาพบกันระหว่างคนทำงานสร้างสรรค์กับชุมชนที่มาชนกันจนเกิดโปรเจ็คพื้นที่สร้างสรรค์สาธารณะสนุก ๆ ในชื่อ ล่ามช้างซีเล็คชั่น นิทรรศการโดยชุมชน 𝗟𝗔𝗠𝗖𝗛𝗔𝗡𝗚 𝗦𝗘𝗟𝗘𝗖𝗧𝗜𝗢𝗡 𝗔𝗡𝗗 𝗘𝗫𝗛𝗜𝗕𝗜𝗧𝗜𝗢𝗡...