ความคิดเห็น

ฝันร้ายในนามเหมืองแร่ฟลูออไรต์กำลังจะกลับมา​

08 กันยายน 2565 ​เหมืองแร่ฟลูออไรต์เมื่อ 30 ปีที่แล้วกำลังจะกลับมาเป็นฝันร้ายของพี่น้องชาวอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนอีกครั้ง​ ​“ก่อนที่จะมีการทำเหมืองแร่ทุกอย่างอุดมสมบูรณ์ ผู้คนอาศัยอยู่บนดอยด้วยกันอย่างสงบสุข พอมีเหมืองแร่เข้ามาทำได้สักพัก พวกเราเริ่มสังเกตว่าพืชผักของพวกเราเริ่มเหี่ยวเฉา ปลาที่เคยอาศัยอยู่ในแม่น้ำเริ่มหายไป น้ำในแม่น้ำเริ่มเหือดแห้ง...

รถแห่: วัฒนธรรม(ประชาชน)บันเทิงของคนชั้นกลางใหม่​

8 กันยายน 2565 30 สิงหาคม 2565 ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดการบรรยายพิเศษในหัวข้อ "รถแห่: วัฒนธรรม(ประชาชน)บันเทิงของคนชั้นกลางใหม่"...

เจาะตำนานผีล้านนา

31 ตุลาคม 2565 / เรื่อง : ปรัชญา ไชยแก้ว “ผี” สิ่งลี้ลับที่หลายคนได้ยินแล้วคงต้องขนลุกขนพอง ผีเป็นสิ่งลี้ลับที่อยู่คู่กับทุกๆสังคมมาอย่างยาวนานปรากฏภาพความหลอกหลอนผ่าน ภาพยนตร์...

“ผมไม่อยากให้จำกัดการพัฒนาเมืองแค่คนรุ่นใหม่ การพัฒนาเมืองเชียงใหม่ ต้องเป็นการพัฒนาที่มีทุกคน”

ผมไม่อยากให้จำกัดการพัฒนาเมืองแค่คนรุ่นใหม่ การพัฒนาเมืองเชียงใหม่ ต้องเป็นการพัฒนาที่มีทุกคน

ถ้า สืบ นาคะเสถียร ยังมีชีวิตอยู่ทันได้เห็นการแยกคนจากป่า รวมศูนย์ผูกขาด และล้างผลาญทรัพยากร

ถ้า สืบ นาคะเสถียร ยังมีชีวิตอยู่ทันได้เห็นการแยกคนจากป่า รวมศูนย์ผูกขาด และล้างผลาญทรัพยากร
spot_img

Popular

เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน เชียงใหม่เป็นเมืองแบบไหนสำหรับคุณ? สำหรับหลายคนแล้ว จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจุดหมายปลายทางในฝัน เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์แห่งล้านนา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยความงดงามทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมา หากมองเผิน...

“นิสิต จิรโสภณ” อดีตผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตั้งคำถามท้าทายความจริง ก่อนการมาถึงของเหตุการณ์ นองเลือด 6 ตุลาคม 2519​

9 มิถุนายน ถือเป็นวันคล้ายวันเกิดของ ‘นิสิต จิรโสภณ’ 1 ในประชาชนที่ต่อสู้เพื่อความจริงและมวลชนอย่างกล้าหาญในยุคแสวงหา เป็นสื่อมวลชนที่กล้าตั้งคำถาม ขับเคลื่อนสังคมในยุคเผด็จการ...

เชียงใหม่เมืองไม่มีอนาคต

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เรียนจบแล้ว จะไปทำงานที่ไหน” “อยากทำงานอยู่เชียงใหม่ แต่คงอยู่ไม่ได้…” บทสนทนาของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังขึ้นข้างหู ทำให้ฉันตั้งคำถามขึ้นมาว่าทำไมมหาวิทยาลัยที่ผลิตนักศึกษาบัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานปีละหลายหมื่นคน แต่ผู้จบการศึกษาจำนวนมากถึงเลือกที่จะไม่อยู่ทำงานในจังหวัดเชียงใหม่...

ล่ามช้างซาวด์ The 𝑺𝒐𝒖𝒏𝒅 𝒐𝒇 𝑳𝒂𝒎𝒄𝒉𝒂𝒏𝒈 โปรเจ็คพื้นที่สาธารณะที่ข้องเกี่ยว “เสียงตามสาย” ของคนในชุมชน ที่เสียงอาจดังไกลกว่าล่ามช้าง

น่ายินดีไม่น้อยที่เราได้เห็นการโคจรมาพบกันระหว่างคนทำงานสร้างสรรค์กับชุมชนที่มาชนกันจนเกิดโปรเจ็คพื้นที่สร้างสรรค์สาธารณะสนุก ๆ ในชื่อ ล่ามช้างซีเล็คชั่น นิทรรศการโดยชุมชน 𝗟𝗔𝗠𝗖𝗛𝗔𝗡𝗚 𝗦𝗘𝗟𝗘𝗖𝗧𝗜𝗢𝗡 𝗔𝗡𝗗 𝗘𝗫𝗛𝗜𝗕𝗜𝗧𝗜𝗢𝗡...