ความคิดเห็น

“คุณค่าของคน คุณค่าของงาน” เนื่องในวันงานที่มีคุณค่า โดยรศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 ตุลาคม 2565 “ระบบทุนนิยมทำให้เราต้องทำงานชิ้นเล็ก ๆ เราเป็นส่วนหนึ่งของการผลิตที่ใหญ่มาก ทำให้คนกลายเป็นปัจจัยการผลิต เราไม่ได้อินกับงานที่เราทำ ภาวะความแปลกแยกระหว่างเรากับงาน เราไม่รู้ว่ามันสร้างความภูมิใจกับงานยังไง ภาวะแบบนี้ คำอธิบายแบบเดิมคือ...

บทสนทนาเจือความคิดถึงจากมิตรสหายส่งไปถึงมิตรรักผู้เดินทางไกลที่จากไปแบบไม่มีวันกลับ เรืองรอง รุ่งรัศมี, วัฒน์ วรรลยางกูร, ไม้หนึ่ง ก. กุนที, วาด รวี

​26 กันยายน 2565 โดย วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ธิติ มีแต้ม อินทรชัย พาณิชกุล เมฆ’ ครึ่งฟ้า ​ “ใช้โลกให้เป็นบ้าน” อินทรชัย พาณิชกุล กล่าวว่าเป็นคำพูดติดปากของ เรืองรอง...

“ผมไม่ได้จะบอกว่าสงครามมันดีนะ เพียงแต่ผมอยากจะนำเสนอสิ่งที่พวกเราอาจจะไม่เห็นจากมัน”

15 กันยายน 2565 ศ.ดร.นิติ ภวัครพันธุ์ กล่าวเสวนาในช่วงสุดท้ายของงานรับเรือนสหายทางศิลปะ และนิทรรศการ “Cold War : the mysterious”...

“เริ่มสยามสมัยใหม่ : เหตุผลนิยมแบบพุทธมนุษยนิยมใต้สมมติราชนิติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และลัทธิอาณานิคมของเจ้ากรุงเทพฯ”

14 กันยายน 2565 เหตุผลนิยมแบบพุทธมนุษยนิยมใต้สมมติราชนิติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และลัทธิอาณานิคมของเจ้ากรุงเทพฯ โดย ธงชัย วินิจจะกูล ​ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดเวทีบรรยายพิเศษในหัวข้อ "เริ่มสยามสมัยใหม่ : เหตุผลนิยมแบบพุทธมนุษยนิยมใต้สมมติราชนิติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และลัทธิอาณานิคมของเจ้ากรุงเทพฯ"...

“นักประวัติศาสตร์จะสำนึกอยู่ตลอดเวลา ว่าตัวเองเป็นนักเขียน รู้ว่าการเป็นนักประวัติศาสตร์คือการเขียน การเล่า ซึ่งมันไม่เหมือนกับการเล่าในแบบของการใช้สื่อ”

14 กันยายน 2565 รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร เปิดการเสวนาด้วยการเปรียบเทียบงานศิลปะกับงานเขียนเชิงวิชาการ ในแง่ของการสื่อสาร งานศิลปะช่วยเพิ่มความรับรู้ที่ผู้รับสื่อมีต่อโลก ในแบบที่งานเขียนไม่สามารถทำได้ หนึ่งในวิธีการสร้างสื่อศิลปะที่ รศ.ดร.ยุกติ กล่าวถึง...