หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
กระจายอำนาจ
ความคิดเห็น
ภาพฝันที่ถูกล้อม อนาคตข้อท้าทายกระจายอำนาจในภาคเหนือ
เกือบ 2 ปีล่วงผ่าน การอ่าน “ประกาศคณะราษฎร” ในกิจกรรม “แห่ไม้ก้ำประชาธิปไตยปักหมุดกระจายอำนาจ” โดย “คณะก่อการล้านนาใหม่” เมื่อ 24 มิถุนายน 2566 เป็นเหตุให้ยังมีผู้ถูกดำเนินคดีจากการอ่านคำประกาศดังกล่าว กิจกรรมแห่ไม้ก้ำฯ เริ่มต้นที่หน้าอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนจะเคลื่อนขบวนบรรทุกไม้ค้ำสะหรีซึ่งเป็นประเพณีล้านนาเดิมที่ผู้คนเอาไม้ง่ามไปค้ำที่ต้นโพธิ์ในวัดเพื่อสื่อถึงการค้ำจุนพุทธศาสนา...
สัมภาษณ์
ผู้ว่าราชการจังหวัด ราชการส่วนภูมิภาค ความอีนุงตุงนังกับอำนาจท้องถิ่น
เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว กระแสการเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดในประเทศไทยดังขึ้นเป็นครั้งคราว ล่าสุดเมื่อการเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ที่พาเอาชัชชาติ สิทธิพันธ์ ขึ้นสู่ตำแหน่งก็กลายเป็นกระแสอีกครั้ง ประชาชนในหลายจังหวัดก็อยากจะมี “ชัชชาติ” เป็นของตัวเองบ้าง แต่ตราบใดที่การบริหารของจังหวัดยังอยู่ภายใต้โครงสร้างราชการส่วนภูมิภาค การเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดก็ยังเป็นไปไม่ได้ ราชการส่วนภูมิภาคที่มีหน้าที่รวมไปถึงงบประมาณในการจัดสรรดูแลรวมไปถึงกุมอำนาจไว้ ไม่ให้ผู้นำที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในพื้นที่อย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...
เจาะประเด็น
ข้อเสนอกระจายอำนาจงัดรัฐรวมศูนย์ ประเทศไทยเอาไงต่อ?
เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว ข้อเสนอเรื่องการกระจายอำนาจ และเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประเด็นที่ประชาชนในภูมิภาคเรียกร้องมาอย่างยาวนานมาตั้งแต่ยุค 2530 แต่มักถูกปัดตกหรือถูกแทรกแซงทางการเมือง รวมไปถึงการรัฐประหาร แม้ในยุครัฐธรรมนูญ 2540 จะเห็นทิศทางการกระจายอำนาจให้กับท้องถิ่น "แต่ก็ยังไปไม่สุด" ทั้งการถ่ายโอนหน่วยงาน ภารกิจ ภาษี และงบประมาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเสนอให้เลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด หรือถ่ายโอนราชการส่วนภูมิภาคไปให้ท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้นก็ถูกต่อต้าน...
ความคิดเห็น
ปี 67 ผู้ว่าฯภาคเหนือเกษียณไปแล้ว 5 คน พบทั้งหมดดำรงตำแหน่งไม่ถึง 3 ปี
30 กันยายน 2567 ที่ผ่านมาเป็นวันสุดท้ายของปีงบประมาณ 2567 และนับเป็นวันสุดท้ายที่ข้าราชการครบอายุ 60 ปี จะต้องเกษียณอายุราชการ ข้อมูลจาก ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ข้าราชการพ้นจากราชการเพราะอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ (ครบเกษียณอายุ) ในสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เผยว่ามีข้าราชการพลเรือนที่เกษียณอายุราชการทั้งหมด...
ข่าว
ถึงเวลาจังหวัดจัดการตนเอง กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น “เชียงใหม่มหานคร”
5 สิงหาคม 2567 คณะกรรมาธิการการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนท้องถิ่น และการบริหารราชการรูปแบบพิเศษ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จัดกสัมมนา ถึงเวลาจังหวัดจัดการตนเอง กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น “เชียงใหม่มหานคร” เวลา 13.00 - 17.00 น. ณ...
เจาะประเด็น
เปิดข้อมูล 30 ปี ผู้ว่าฯ ภาคเหนือ เป็นใครมาจากไหน เป็นคนในพื้นที่เท่าไหร่ แล้วดำรงตำแหน่งกันกี่ปี
เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “ผู้ว่าราชการจังหวัดมาจากการแต่งตั้ง การแต่งตั้งในยุคนี้แน่นอนว่าก็ต้องรับนโยบายหลัก ๆ มาจากส่วนกลาง ซึ่งนโยบายจากส่วนกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับเสื้อ ก็คือแบบเสื้อตัวเดียวเหมือนกันหมด ตัวเราขนาดไม่เท่ากันอยู่แล้ว แต่เรากําลังพยายามใส่เสื้อขนาดเดียวกัน ซึ่งทุกจังหวัดก็เช่นกัน บางทีมันอาจจะไม่เอื้อและไม่เหมาะต่อการแก้ไขปัญหา มันทําให้บางพื้นที่ไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว กระบวนการของบประมาณก็เป็นไปอย่างล่าช้า” ประเทศไทยมีราชการบริหารส่วนภูมิภาค 76 จังหวัด...
-
รถไฟล่องหน สิ้นสุดการเดินทาง ส่งต่อคำถามถึงขนส่งสาธารณะและการกระจายอำนาจ
28 พฤษภาคม 2567 มีการจัดแสดง “รถไฟล่องหน” โดย จักรพันธ์ ศรีวิชัย ณ สถานีรถไฟเชียงใหม่ ตั้งแต่เวลา 10.00 – 12.00 น. และแสดง Performance...
สัมภาษณ์
My Hometown Project เล่นในบ้านทัวร์ในบ้าน แบบ View From The Bus Tour ที่กำลังจะบอกว่ากระจายอำนาจเป็นเรื่องสำคัญ
“สิ่งที่ผมหวังว่าจะเกิดขึ้นจากการจุดชนวนโปรเจคนี้คือ (1) นำเสนอโมเดลการเดินสายโชว์ดนตรีออริจินัลในเชียงใหม่ สู่ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ให้กับนิเวศดนตรี ไม่ว่าจะในมุมของ music venues (มาตรฐาน), เจ้าของธุรกิจ, นายทุน, ศิลปิน, และผู้ฟัง (2) ผลักดันประเด็นเรื่อง soft...
ข่าว
เปิดปากคำ อรรถจักร์-สมชาย ’ประกาศคณะราษฏร‘ ผิดหรือไม่? เหตุ ‘ก่อการล้านนาใหม่’ อ่านประกาศเปิดวาระกระจายอำนาจ
“การกล่าวหาโดยนำเรื่องประกาศคณะราษฎร และประกาศข้อเรียกร้องของคณะก่อการล้านนา มาเชื่อมโยงกัน เพื่อทำให้กลายเป็นความผิดตามกฎหมายนั้นเป็นการกระทำที่ไม่มีเหตุผลใด ๆ รองรับเลย” ศ.ดร.อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2567 พ.ต.ท.ทนงศักดิ์ จันทร์เจือแก้ว พนักงานสอบสวน สภ.เมืองเชียงใหม่ เข้าสอบปากคำ ศ.ดร.อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์...
เจาะประเด็น
‘เชียงใหม่’ พูดมานานหรือยัง ‘กระจายอำนาจ’ เปิดประวัติศาสตร์การกระจายอำนาจในเชียงใหม่ เริ่มตอนไหน จบเมื่อไหร่ ฟื้นกี่รอบ
เรื่อง: กองบรรณาธิการ Lanner การรวมศูนย์อำนาจในการบริหาร กฎหมาย รวมไปถึงทรัพยากร อยู่ที่ส่วนกลางของประเทศดำเนินมาอย่างยาวนานตั้งแต่อดีตไปจนถึงปัจจุบัน ที่ผูกขาดอำนาจไว้ที่กรุงเทพมหานคร เมืองเทพสร้างที่เป็นดั่งเมืองสวรรค์ที่ดึงดูดผู้คนให้หลั่งไหลออกจากบ้านเกิดเมืองนอนเข้าไปตามหาความฝัน จึงทำให้เกิดคำถามว่า การตามหาความฝันจำเป็นต้องเดินทางเข้ากรุงเทพฯ เมืองเทพสร้างอย่างเดียวหรือ? หรือที่จริงแล้วพวกเราถูกยึดอำนาจและทรัพยากรไปจากเราเองตั้งแต่ในอดีตหรือไม่ นี้อาจจะเป็นเหตุผลว่าทำไมถึงเกิดการเรียกร้องให้มี “การกระจายอำนาจ” มาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน นโยบายที่เข้าไปถึงท้องถิ่นก็มักจะเป็นนโยบายที่ไม่ได้เข้าใจบริบทและปัญหาของคนในพื้นที่ และหลายๆ...
เจาะประเด็น
De Lampang: ลำปางรับจบสุขสันต์วัยเกษียณสำรวจหนึ่งทศวรรษ ‘ลำปาง’ ผ่านตำแหน่ง “ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง” แต่งตั้งโยกย้ายมาเพื่อเกษียณจริงหรือไม่ ?
“ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง ย้ายมากี่คนก็ย้ายมาเพื่อเกษียณ” คำบอกเล่าจากบุคคลรอบข้างที่ชวนให้ตั้งข้อสงสัยว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่ และเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ทั้งที่บทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัด เรียกได้ว่ามีบทบาทสำคัญสูงสุด กอปรกับสถานะ “พ่อเมือง” ที่สะท้อนถึงความยิ่งใหญ่ภายในจังหวัด สถานะข้าราชการระดับสูงที่มาทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินภายในจังหวัดภายใต้แนวคิดการควบรวมอำนาจกลับสู่ศูนย์กลาง “ผู้ว่าราชการจังหวัด” คือข้าราชการพลเรือนสามัญ ที่อยู่ภายใต้สังกัดกระทรวงมหาดไทย ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง มีความรับผิดชอบต่อการปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในสังกัดราชการบริหารส่วนภูมิภาคและกำกับการปฏิบัติงานของราชการส่วนท้องถิ่นในสังกัด รับคำสั่งจากรัฐบาลมาปฏิบัติภายในพื้นที่ บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแผนของทางราชการและแผนพัฒนาจังหวัด...
ข่าว
เสวนา “รัฐธรรมนูญกับการกระจายอำนาจ และการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ” นักวิชาการชี้รัฐธรรมนูญไทยไม่มีประชาธิปไตย
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดงานเสวนา “รัฐธรรมนูญกับการกระจายอำนาจ และการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ” ณ ห้องสืบค้น คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ เวลา 13:30-16:30 น. ดำเนินรายการโดย นางสาววรินทร...
ข่าว
นศ.มช.ได้รับหมายเรียก ข้อหา ม.116-พ.ร.บ.ชุมนุม เหตุงานแห่ไม้ค้ำกระจายอำนาจ
11 ตุลาคม 2566 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน รายงานว่า มิว วัชรภัทร ธรรมจักร นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับหมายเรียกผู้ต้องหาจาก สภ.เมืองเชียงใหม่ ระบุข้อหา ม.116 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และ พ.ร.บ.ชุมนุม โดยคดีมี...
สัมภาษณ์
คุยกับภาคภูมิ แสงกนกกุล: ตระเวนเส้นทางกระจายอำนาจการคลังอันขรุขระ ที่ต้องเลี้ยวหลบระบบอุปถัมภ์แบบไทยๆ
เรื่องและภาพ ณัฐชลี สิงสาวแห มีอะไรรออยู่ในเส้นทางการกระจายอำนาจ เราขอชวนร่วมทริปสำรวจเส้นทางสู่การกระจายอำนาจด้านการคลังในประเทศไทย และก่อนที่จะกล่าวถึงเนื้อหนังของการกระจายอำนาจ “ภาคภูมิ แสงกนกกุล” จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เริ่มต้นด้วยการทบทวนถึงอำนาจหน้าที่ด้านการคลังของรัฐบาลกลางซึ่งประกอบไปด้วยอำนาจหลัก 4 ประการ ได้แก่ 1.อำนาจการกำกับควบคุม (Regulate) เพื่อให้กิจกิจกรรมทางเศรษฐกิจและกิจกรรมต่างๆ ของผู้แสดง (Actor)...
ความคิดเห็น
เราคือคณะก่อการล้านนาใหม่ นี่คือการเรียกคืนสิทธิจัดการตนเองจากรัฐผู้ฉกฉวย
เรื่องและภาพ: ณัฐชลี สิงสาวแห “คณะก่อการล้านนาใหม่” ก่อกำเนิดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ซึ่งถูกเรียกว่าภาคเหนือ ผืนดินที่อยู่ทาง “ทิศเหนือของกรุงเทพฯ” เมืองหลวงแห่งประเทศไทย พื้นที่แห่งนี้เต็มไปด้วยภูเขา ป่าไม้ แม่น้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ และชนเผ่าพื้นเมืองที่ถูกกีดกันจากทรัพยากรพื้นฐานในการดำรงชีพซึ่งถูกครอบครองโดยกลุ่มชนชั้นนำกลุ่มเล็กๆ พวกเขารวมกลุ่มกันเพื่อบอกว่าการรวมอำนาจตัดสินใจทางนโยบายหรือการออกกฎหมายจากชนชั้นนำได้ลิดรอนสิทธิตามรัฐธรรมนูญของพวกเขาและพวกเขาไม่ปรารถนาการลิดรอนสิทธิเช่นนั้น ทรัพยากรอันอุดม เมื่ออยู่ในมือของผู้มีอำนาจจากส่วนกลางทำให้อำนาจในการจัดการตนเองหลุดออกจากมือของพวกเขาทีละน้อย แม้จะลุกขึ้นประท้วงแสดงออกว่าไม่สยบยอมต่อชะตากรรมที่ถูกหยิบยื่นให้ แม้จะลุกขึ้นสู้ซ้ำแล้วซ้ำเล่าต่อผู้ฉกฉวย...
ความคิดเห็น
“สภาพลเมือง” จากผู้ชมข้างสนามสู่ผู้เล่นตัวจริงในสนามกระจายอำนาจ
เรื่อง: กิตติโบ้ พันธภาค หากประชาธิปไตยเปรียบเสมือน “เส้นขอบฟ้า” การพยายามค้นหา “เครื่องมือ” เพื่อมุ่งไปหามันจึงเป็นที่สิ่งสำคัญ ทว่าบางเครื่องมืออาจทำให้เราจินตนาการไปว่ามันพาได้เราไปถึงจุดหมายแล้ว แต่ไม่เลย มันอาจเพียงแค่พาเราขยับเข้าใกล้เส้นขอบฟ้าเท่านั้น ซึ่งยังไม่ถึงเป้าหมาย และเรายังสามารถไปไกลได้มากกว่านี้ ระบบรัฐสภาหรือการเลือกตั้งก็เช่นกัน มันเป็นเพียงหนึ่งในหลายเครื่องมือที่พาสังคมขยับเข้าใกล้ประชาธิปไตย แต่ไม่ใช่เครื่องมือสุดท้ายที่จะพาเราไปถึงเป้าหมายอย่างสังคมประชาธิปไตยหรือเส้นขอบฟ้า ‘Lanner’ ชวนทำความรู้จักอีกหนึ่งเครื่องมือที่จะพาสังคมขยับเข้าใกล้ประชาธิปไตยมากขึ้น นั่นคือ “สภาประชาชน”...
ความคิดเห็น
จังหวัดจัดการตนเองไม่เท่ากับแบ่งแยกดินแดน
เรียบเรียง: สุรยุทธ รุ่งเรือง เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา คณะก่อการล้านนาใหม่ จัดกิจกรรมเสวนาวาระรัฐธรรมนูญ-การกระจายอำนาจ “แห่ไม้ก้ำประชาธิปไตย ปักหมุดกระจายอำนาจ” ขึ้น ณ โรงแรมไอบิสสไตล์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยในช่วงหลังของกิจกรรม ได้มีการร่วมถกเสวนาหัวข้อ...
ข่าว
คณบดีนิติ มช.ประกาศย้ายสถานที่จัดเสวนาคณะก่อการล้านนาใหม่ หลังมช.เป็นกังวลเปลี่ยนผู้ร่วมเสวนาหลังธนาธรติดคดี 112
คณบดีนิติ มช.ประกาศย้ายสถานที่จัดเสวนาคณะก่อการล้านนาใหม่ หลังมช.เป็นกังวล เปลี่ยนผู้ร่วมเสวนาหลังธนาธรติดคดี 112 วันนี้ (21 มิถุนายน 2566) ผศ.ดร.นัทมน คงเจริญ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เผยแพร่ข้อความหน้าเฟสบุ๊คของตน กรณีเปิดพื้นที่ในคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แก่คณะก่อการล้านนาใหม่ NEO-LANNA...
ข่าว
The voters ชวนเข้าชื่อ 5 หมื่นชื่อ แก้ร่างรัฐธรรมนูญกระจายอำนาจท้องถิ่น
15 กุมภาพันธ์ 2566 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 The Voters ชวนเข้าชื่อ 5 หมื่นรายชื่อตามกฏหมายกำหนด เพื่อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญหมวด 14 มาตรา 249 - 254...
สัมภาษณ์
ความหวัง เลือกตั้งท้องถิ่นไทย
เรื่องและภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี, ภัทรภร ผ่องอำไพ การเลือกตั้งท้องถิ่นควรมาจากเจตจำนงในการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ หาควรมาจากอำนาจรัฐรวมศูนย์ไร้ซึ่งความเข้าใจถิ่นตนไม่ ถึงแม้ว่าการเลือกตั้งท้องถิ่นจะมีอุปสรรคอยู่หลายปัจจัย แต่ยังเชื่อว่ายังมีความหวังที่เปรียบเสมือนคลื่นลูกใหญ่ เป็นแรงขับเคลื่อนเข้ามาเปลี่ยนแปลงอนาคต และทิศทางการเลือกตั้งท้องถิ่นอย่างมีเสถียรภาพดังนั้น “ตัวแปร ที่จะเป็นจุดเปลี่ยน กำหนดผลการเลือกตั้งท้องถิ่นจึงเป็น คนรุ่นใหม่” ความหวังที่จะนำพาคนหนุ่มสาวไกลบ้านได้กลับมาเลือกตั้งถิ่นตน ถ้อยคำดังกล่าว ถูกเอ่ยขึ้นมาขณะที่ผู้เขียนกำลังสัมภาษณ์...