คำสำคัญ: การศึกษา

‘ห้วยซ้อวิทยาคมฯ’ ห้องเรียน 2 ระบบ แก้เด็กหลุดจากระบบด้วยการศึกษาที่ยืดหยุ่น

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว ภาพ: ห้องเรียนข้ามขอบ โรงเรียนห้วยซ้อวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก โรงเรียนประจำตำบล ตั้งอยู่ในอำเภอเชียงของ ห่างจากอำเภอเมืองเชียงราย 90 กิโลเมตร มีนักเรียนทั้งหมด 674 คน ที่มีความหลากหลายทั้งเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมและความสนใจ แต่ปัญหาทางเศรษฐกิจก็ยังเป็นปัญหาใหญ่ในพื้นที่ซึ่งส่งผลกระทบกับนักเรียนด้วยเช่นกัน...

Lanner Joy: “ฉันเชื่อในสิ่งที่ฉันเห็น ใครไม่เชื่อก็ไม่เป็นไร แต่ฉันเห็นใบไม้สีม่วง” คุยกับเสาวนีย์ สังขาระ แห่งสวนศิลป์บินสิ! กับทางที่เลือกบิน

เรื่องและภาพ: กองบรรณาธิการ อาจจะกล่าวได้ว่าสถานการณ์การศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันนั้นต้องเผชิญกับปัญหาในหลายด้าน ปัญหาหนึ่งที่เด็กไทยเผชิญมาตลอดคือการขาดความคิดสร้างสรรค์ถูกห้ามถูกคิดจินตนาการไปไกลกว่าห้องเรียนสี่เหลี่ยม ข้อมูลจาก การประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล หรือ PISA ปี 2565 โดยองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) เผยว่าประเทศไทยได้คะแนนการคิดสร้างสรรค์ อยู่ที่อันดับที่ 54 จาก 64 ประเทศ...

เปิด ‘ห้องเรียนข้ามขอบ’ หวังจินตนาการใหม่การศึกษาไทยไร้รอยต่อ ‘เชียงดาว’ นำร่องสร้างนิเวศแห่งการเรียนรู้

9 สิงหาคม 2567 ณ หอประชุมโรงเรียนเชียงดาววิทยาคม อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่  ได้มีการจัดเวทีสัมมนากำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์โครงการห้องเรียนข้ามขอบ “ร่วมกันสร้างนิเวศการเรียนรู้จากห้องเรียนข้ามขอบ เชียงดาวเมืองแห่งการเรียนรู้สู่การศึกษาไร้รอยต่อ” เพื่อกำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์โครงการห้องเรียนข้ามขอบ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมูลนิธิสื่อชาวบ้าน (มะขามป้อม) ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดย...

ที่ผ่านมาเด็กภาคเหนือหลุดออกจากระบบการศึกษามากแค่ไหน?

‘ปัญหาการตกหล่นออกจากระบบการศึกษา’ ถือเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กภาคเหนือและทิศทางการพัฒนาของพื้นที่อย่างมีนัยสำคัญ การขาดโอกาสทางการศึกษาไม่เพียงแต่จำกัดศักยภาพของเด็ก แต่ยังเป็นการขัดขวางการพัฒนาของภูมิภาคด้วย การศึกษาเป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนาคนและประเทศ การที่เด็กจำนวนไม่น้อยในภาคเหนือต้องพลาดโอกาสนี้จึงเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องร่วมกันหาทางแก้ไข จากการสำรวจข้อมูล สถิติข้อมูลทางการศึกษา ปีการศึกษา 2566/1 ข้อมูลปีการศึกษา 2566 รายเขตพื้นที่การศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่ามีเด็กภาคเหนือที่ต้องหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงปี 2564-2565 ถึง 18,520...

นโยบายความยากจนในไทย กับความทับซ้อนเด็กหลุดระบบทางการศึกษา

การสัมมนาทางวิชาการในหัวข้อ “นโยบายความยากจนในสังคมไทยกับโจทย์ความท้าทายใหม่ ๆ” ภายใต้ปีที่ 2 ของโครงการวิจัย “ความยากจนข้ามรุ่นในสังคมไทยภายใต้ความท้าทายเชิงโครงสร้าง” ภายใต้การสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประเภททุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส) จากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2565 ประกอบไปด้วยวิทยากร 4 ท่าน ดังนี้...

เตรียมพร้อมก่อนเลือกตั้ง’66: 4 ปีครูประยุทธ์ การศึกษาไทยเป็นยังไงบ้าง?

4 เมษายน 2566 "หวังอย่างแรกคือไม่อยากได้เซ็ทเดิมแล้ว เราไม่ได้อยากได้ใครก็ได้มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ" "ตั้งแต่รัฐประหารมา มันมีโครงการสร้างอะไรบางอย่างในโรงเรียนที่มันผิดแปลกไป อย่างเช่นกิจกรรมที่มันต้องส่งเสริมเกี่ยวกับค่านิยม 12 ประการ โครงสร้างเหล่านี้มันตัดโอกาสเด็ก" "การที่ภาคประชาชนหรือภาคพลเมืองในสังคมไทย ควรจะเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างน้อยก็ไม่ใช่เฉพาะเชิงนโยบาย แต่เป็นการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับของคุณภาพชีวิตในชีวิตประจำวันของตัวเองมากขึ้นเรื่อย ๆ" มาฟังว่า 4 ปี ครูประยุทธ์ การศึกษาไทยเป็นยังไงบ้าง? https://youtu.be/JPZf4aNuW2s ​

 ‘เมษามาม่วน’ เชียงดาวเมืองแห่งการเรียนรู้

31 มีนาคม 2566 มูลนิธิสื่อชาวบ้าน มะขามป้อม จัดกิจกรรมเปิดเทศกาลเดือนแห่งการเรียนรู้ 'เมษามาม่วน' ณ สนามกีฬาบ้านดง หมู่ 7 ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ภายในงานมีกิจกรรมให้ผู้เข้าร่วมได้ร่วมสนุกตลอดทั้งวันและมีวงพูดคุย “การเรียนรู้สำคัญยังไง ทำไมเชียงดาวต้องทำเมืองแห่งการเรียนรู้”...

LANNER ชวนจับตา “นโยบายการศึกษา” ของแต่ละพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง 66

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่านโยบายการศึกษาเป็นเรื่องสำคัญมาก ๆ ที่แต่ละพรรคการเมืองมักจะชูขึ้นมาพูดอยู่ในทุกฤดูเลือกตั้ง ยิ่งไปกว่านั้นการศึกษานับเป็นเรื่องที่สามารถทำให้คุณภาพชีวิตและพื้นฐานชีวิตของทุกคนดีขึ้น ซึ่งจะเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศต่อไป ทาง LANNER ขอชวนทุกคนไปดูนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของแต่ละพรรคการเมืองว่าจะมีการแก้ไขหรือพัฒนาการศึกษาอย่างไรกันบ้าง พรรคก้าวไกล ชูเรื่อง “การศึกษาที่ฟรีจริง” ประกอบด้วย - เรียนฟรี อาหารฟรี มีรถรับส่ง -ทุกโรงเรียนมีงบพอ -โรงเรียนโปร่งใส ปราศจากทุจริต “การศึกษาที่ปลอดภัย ไร้อำนาจนิยม” ประกอบด้วย -ส้วมสะอาด อาคารสถานที่ปลอดภัย...

เสียงครูหายไปไหน? ว่าด้วยเรื่องสิทธิและเสียงของคุณครู

เรื่อง: พีรดนย์ กตัญญู “ครู” อาชีพที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน ถ้าให้ขยายความหมายของครู ครูคือผู้ที่มีหน้าที่ความสามารถในคำแนะนำฝึกสอนให้วิชาความรู้ทางการเรียน หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติให้กับนักเรียน  นักศึกษาในสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน อีกความหมายในเชิงคุณค่านั้น ครูยังเป็นผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์ ให้รู้จักผิดชอบชั่วดี สอนในคุณงามความดีเพื่อเป็นแม่แบบให้เด็กได้ปฏิบัติตามทั้งต่อหน้าและลับหลัง เพื่อเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม แม้จะมีความหมายที่ดูลึกซึ้งคมคาย แต่ปัจจุบันนี้เองครูไม่ได้เพียงแค่สอนหนังสืออยู่หน้าชั้นเรียนเพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องทำงานอื่น ๆ...

เมื่อฉัน (นักเรียน ม.4) ได้พูดคุยกับ ‘นักศึกษา(ครู)ฝึกสอน’ คนหนึ่ง

9 มกราคม 2566 เรื่อง : Patha 1. ในโลกที่เรามีโซเชียลมีเดีย ทำให้ทุกวันนี้ปัญหาหลาย ๆ อย่างที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันถูกนำเสนอต่อสาธารณะมากขึ้น ด้วยความที่ผู้เขียนเป็น “นักเรียน” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปัญหาที่ใกล้ตัวของผู้เขียนมากที่สุดนั้นย่อมหนีไม่พ้นเรื่อง “การศึกษา” จากมุมมองของนักเรียน พวกเราเจอปัญหาอะไรบ้าง? ถ้าจะให้ไล่เรียงให้หมดครบถ้วนก็คงไม่หวาดไม่ไหว แต่จะขอหยิบยกข้อมูลของกลุ่ม “นักเรียนเลว”...

เสวนาวิชาการ “การศึกษาไทยใต้เงาปฏิวัติ 2475 : อำนาจ ความรู้ ผู้คน พลเมือง”

24 ธันวาคม 2565 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 มีการจัดเสวนาวิชาการ "การศึกษาไทยใต้เงาปฏิวัติ 2475 : อำนาจ ความรู้ ผู้คน พลเมือง ผ่าน Facebook Live...