คำสำคัญ: คนเหนือเดือนตุลา

“ถ้าไม่ไป ก็เสียชาติเกิด” Side Story 50 ปีนักเรียนภาคเหนือกับประชาธิปไตยในเดือนตุลา

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว เรานัด ‘สุทธิศักดิ์ ปวราธิสันต์’ ที่สวนอัญญา เฮือนครูองุ่น...

ลำดับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ในภาคเหนือ

เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ ความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนในช่วง 14 ตุลาคม 2516 ไม่ได้จำกัดอยู่แค่กรุงเทพมหานครแต่เพียงเท่านั้น เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของการเมืองไทย ที่ประชาชนก้าวออกมาต่อต้านอำนาจของเผด็จการที่ปกครองประเทศเป็นเวลาร่วม 15...

คนเหนือเดือนตุลา: ‘ใบไม้ไหว’ เพลงของ “จรัล มโนเพ็ชร” บาดแผลในความทรงจำในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม 2516

เราอาจจะรู้จัก “จรัล มโนเพ็ชร” ในฐานะของศิลปินชาวเชียงใหม่ ผู้ยกระดับให้เพลงภาษาคำเมือง จนพัฒนาแนวเพลงที่เราเรียกกันจนติดปากว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ส่งผ่านความทรงจำผ่านเสียงเพลงมาร่วม 4...

คนเหนือเดือนตุลา: จุฬา-จารีตก่อน 14 ตุลา และความรู้สึกอยากกลับบ้านหลัง 6 ตุลาของธเนศวร์ เจริญเมือง

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่าถึงประสบการณ์ส่วนตัวเพื่อทำความเข้าใจที่มาก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม...

คนเหนือเดือนตุลา: ปาหนัน-จีรวรรณ โสดาวัฒน์ ‘มังกรน้อย’ เบ้าหลอมเยาวชน

เรียบเรียง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “ช่วงก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ คุณพ่อเป็นชาวนาธรรมดา ในอำเภอดอยสะเก็ด...

คนเหนือเดือนตุลา: 6 ตุลา 19 ในเชียงใหม่

ภาพจำของโศกนาฏกรรมความรุนแรงที่เกิดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ที่เจ้าหน้าที่รัฐร่วมมือกับกลุ่มฝ่ายชาตินิยมขวาจัดร่วมมือกันสังหารเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างโหดเหี้ยมกลางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นภาพจำที่ฝั่งลึกแต่ก็ถูกหลงลืมในหน้าประวัติศาสตร์กระแสหลักของการเมืองไทย แต่เหตุการณ์ 6 ตุลา 19...

‘ไพบูลย์ เลาหจิรพันธ์’ คนเชียงรายที่เสียชีวิตในวันฟ้าสาง 6 ตุลาคม 2519 

ความรุนแรงในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เจ้าหน้าที่รัฐบาลและกลุ่มฝ่ายชาตินิยมขวาจัดหลายกลุ่มร่วมมือกันปราบปรามสังหารหมู่นักศึกษาและประชาชนอย่างเลือดเย็นใจกลางกรุง ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์และท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีมูลเหตุการณ์คือการที่ประชาชนออกมาประท้วงการเดินกลับมาบวชเป็นภิกษุที่วัดบวรนิเวศวิหาร ของจอมพล...

บางความทรงจำถูกตัดตอนและแทนที่ด้วยความว่าง.. เกินจะรับรู้

เราจดจำเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 กันแบบไหน?ไม่ว่าเราจะจดจำแบบไหนหรือสังคมไทยอยากให้จดจำแบบใด...