คำสำคัญ: ป่าไม้

กลุ่มฮักเมืองแจ๋ม: การต่อสู้ของชาวบ้านในปัญหาการช่วงชิงทรัพยากรป่าสนวัดจันทร์

ช่วงทศวรรษ 2530 ถึงกลางทศวรรษ 2540 เป็นช่วงเวลาที่การเมืองภาคประชาชนก่อตัวขึ้นมา และมีพลวัตอย่างมากโดยเฉพาะหลังปี 2535 จนถึงการมีส่วนร่วมในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540...

Forestกรรม กรรมของป่า หรือกรรมของใคร?

เรื่อง: นันทัชพร ศรีจันทร์ “บ้านบนดอย บ่มีแสงสี บ่มีทีวี บ่มีน้ำประปา บ่มีโรงหนัง......บ่มีเนื้อสันผัดน้ำมันหอย คนบนดอยชอบกิ๋นข้าวจี่…” กว่า 40...

‘ทวงคืนผืนป่า’ กระบวนการอยุติธรรมอันบิดเบี้ยวจากยุค คสช. สู่การจับตารัฐบาล ‘เศรษฐา’

รายงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้โครงการ Journalism that Builds Bridges นโยบาย “ทวงคืนผืนป่า” ในรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา ปี...

ชาวปกาเกอะญอแม่ลาน้อย ค้านโครงการจัดที่ดิน คทช. ห่วงผลกระทบวิถีชาติพันธุ์

12 ก.ค. 2566 ชาวปกาเกอะญอบ้านหนองม่วน ม.4 ต.แม่นาจาง อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน เดินทางไปยื่นหนังสือถึงนายอำเภอแม่ลาน้อย...

ยุติปลูกป่าทับพื้นที่จิตวิญญาณ ชาวบ้านขวัญคีรีลำปาง-จนท.ป่าไม้ ลงนามข้อตกลงร่วม

20 มิ.ย. 2566 ณ ศาลาประชาคมหมู่บ้านขวัญคีรี ชาวปกาเกอะญอ บ้านขวัญคีรี หมู่ที่ 11...

ชาติพันธุ์ ที่ดิน ป่าไม้และกองทัพ: ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย กฎหมายขนานใหญ่บนชีวิตจริงของผู้คน

เรื่อง: ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ - แรงงานวิชาการผู้พัวพันนโยบายที่ดิน-ป่าไม้ จากการเข้าร่วมเวทีพูดคุยเจรจาหาทางออก กรณีข้อร้องเรียนของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านห้วยตาด ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง...

‘ชาติพันธุ์ปลดแอก’ แถลงจุดยืนเพื่อคุณภาพชีวิตดีกำหนดอนาคตตัวเองได้

2 พฤษภาคม 2566 เครือข่ายชาติพันธุ์ปลดแอก จาก 5 ชุมชน ได้ร่วมกัน ชุมชนกะเบอะดิน...

วงคุยชาติพันธุ์ปลดแอก จุดเริ่มต้นและวิกฤตการเคลื่อนไหวในพื้นที่

เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2566 ได้มีการจัดกิจกรรม ‘พิธีสืบชะตาแม่น้ำสาละวิน’ เนื่องในวันหยุดเขื่อนโลกสากล ณ บ้านสบเมย...

บ้านห้วยไร่ ห้วยงู แม่ปูนน้อย เชียงราย ประกาศเป็นพื้นที่คุ้มครองวัฒนธรรมกะเหรี่ยง

29 ธันวาคม 2565 ภาพ : กัญญ์วรา หมื่นแก้ว ​ชาวกะเหรี่ยงบ้านห้วยไร่-ห้วยงู-แม่ปูนน้อย จ.เชียงราย ประกาศพื้นที่คุ้มครองวัฒนธรรม ยืนยันสิทธิจัดการที่ดิน...

เทศกาลเพื่อลมหายใจเชียงใหม่ครั้งที่ 2 Eat Healthy, Breathe Happily

30 พฤศจิกายน 2565 25-27 พฤศจิกายน 2565 ณ สวนป่าในเมือง แม่เหียะ จังหวัดเชียงใหม่...