คำสำคัญ: เมียนมา

ชายแดนโฟกัส – สรุปสถานการณ์ทางสังคมรอบชายแดน ธันวาคม 2567

เมียนมา เมียนมาและไทยเตรียมเจรจาเกี่ยวกับฐานทัพกองทัพสหรัฐว้า (UWSA) ที่มีข้อพิพาทตามแนวชายแดน ตามรายงานจากสื่อ RFA ระบุว่า กองทัพและรัฐบาลเมียนมาเตรียมเจรจากับรัฐบาลไทยเกี่ยวกับการตั้งฐานทัพกองทัพสหรัฐว้า (UWSA) หรือ กองทัพว้าแดง ที่ตั้งอยู่ตามแนวชายแดนระหว่างเมียนมาและไทย ซึ่งไทยอ้างว่า 9 ฐานทัพของกลุ่มนี้ตั้งอยู่ในอาณาเขตของไทยและต้องการให้ยกเลิกการตั้งฐานดังกล่าว กลุ่ม UWSA ซึ่งมีอำนาจควบคุมพื้นที่กึ่งปกครองตนเองในรัฐฉาน รวมถึงพื้นที่ชายแดนกับไทย ได้ปฏิเสธคำขาดของไทยให้ถอนตัวจากฐานทัพในวันที่...

นักกิจกรรม 311 กลุ่มทั่วโลก กดดัน ‘Airbus SE’ ยุติการลงทุนในเมียนมา หยุดสนับสนุนเผด็จการทหารพม่าทุกรูปแบบ

ภาพ: Blood Money - သွေးစွန်းငွေ 10 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา เนื่องในวันสิทธิมนุษยชนสากล องค์กรปฏิวัติและองค์กรภาคประชาสังคมจากทั้งเมียนมา ไทย และนานาประเทศรวมกว่า 311 องค์กร พร้อมกลุ่มที่ไม่ประสงค์ออกนามอีก 72 กลุ่ม...

ชายแดนโฟกัส – สรุปสถานการณ์ทางสังคมรอบชายแดน พฤศจิกายน 2567

เมียนมา การโจมตีทางอากาศของรัฐบาลทหารเมียนมา คร่าชีวิตพลเรือน 540 ราย ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในรัฐยะไข่ ตามรายงานของสมาคมช่วยเหลือนักโทษการเมือง (AAPP) ระบุว่า การโจมตีทางอากาศโดยกองทัพเมียนมาในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2024 ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 540 คน โดยส่วนใหญ่เกิดขึ้นในรัฐยะไข่ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบอย่างรุนแรงระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพชาติพันธุ์อาระกัน (AA)...

‘ฟอร์ตี้ฟายไรต์’ เผยทหารไทยทำร้ายชาวเมียนมาจนเสียชีวิต ไร้การตรวจสอบที่โปร่งใส

14 พฤศจิกายน 2567 ฟอร์ตี้ฟายไรต์ (Fortify Rights) เปิดเผยรายงานว่าเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2567 ทหารไทย 4 นาย ได้ทรมานและซ้อมชาวเมียนมาจนเสียชีวิต ในพื้นที่ อ.แม่สอด จ.ตาก...

Lanner Joy : พื้นที่แห่งภราดรภาพ (Solidarity) ที่อยู่เหนือเชื้อชาติ ผ่านศิลปะและงานคราฟท์ ณ ร้านเล็กในเมืองใหญ่ Golden Land Solidary Collective 

เรื่องและภาพ: ศุภกานต์ วรินทร์ปราโมทย์ เหตุการณ์ทางการเมืองในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาทำให้ผู้คนที่แลดูห่างไกลแต่แท้จริงแล้วใกล้ตัวเรากว่าที่คิด ต้องระหกระเหิน นำพามาซึ่งการตีความคำว่า ‘บ้าน’ เสียใหม่อย่างหาทางย้อนกลับไม่ได้ เชียงใหม่เองก็เป็นที่พำนัก เสมือนโอเอซิสที่โอบรับผู้จำต้องเดินทางไกลเหล่านี้ เพื่อนคนหนึ่งเล่าว่าในช่วงปีค.ศ. 2021 เธอเข้าร่วมการชุมนุมของกลุ่มประชาชนและนักศึกษาพม่า มีนาคมปีนั้น ญาติของเธอถูกจับเข้าคุก และเมื่อชีวิตประจำวันต้องเข้า ๆ ออก...

‘For the Country’ นิทรรศการมาตุภูมิของศิลปินไทใหญ่ที่อยากกลับบ้าน

เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 18.00 น. Pongnoi Community Art Space ร่วมกับสนิมทุน (Sanimthoon Community Café) จัดงาน Artist...

‘MRN’ จัดเวทีแนะแนวทางทบทวนกฎหมายคุ้มครองผู้ลี้ภัยเมียนมา แนะรัฐรับรองนิยามสถานะ-ช่วยเหลืออย่างมีประสิทธิภาพ

เนื่องในโอกาสวันผู้ลี้ภัยสากล 20 มิถุนายน เครือข่ายเพื่อผู้ลี้ภัยชาวเมียนมาหรือ Myanmar Response Network (MRN) องค์กรที่รวมตัวกันของ 7 องค์กรเพื่อช่วยเหลือผู้ลี้ภัยชาวเมียนมาในประเทศไทย จัดงานการนำเสนอรายงาน “การทบทวนกฎหมายและนโยบายเพื่อการคุ้มครองผู้ลี้ภัยกลุ่มใหม่จากประเทศเมียนมา” (Report on Thai Legislation...

‘ผู้ลี้ภัยคือเพื่อนเรา’ สนิมทุน จัดกิจกรรมวันผู้ลี้ภัยโลก

เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 16.00-22.00 น. ณ ร้านสนิมทุน (Sanimthoon Community Café) คนรุ่นใหม่จากเมียนมาและไทยในเชียงใหม่ร่วมกันจัดกิจกรรม “ผู้ลี้ภัยไม่ใช่ใครอื่นไกล” เนื่องในวันผู้ลี้ภัยโลก (World Refugees...

‘เรารู้สึกไม่ปลอดภัย’  Friend Without Border เปิดรายงาน พบผู้ลี้ภัยในไทยอยู่ภายใต้การคุกคามจากรัฐบาลเผด็จการเมียนมา

สงคราม ความขัดแย้งทางศาสนาและชาติพันธุ์ การปราบปรามประชาชน เป็นสิ่งที่ส่งผลให้เกิดการย้ายถิ่นฐานของคนเป็นจำนวนมากที่ต้องหนีจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นในบ้านเกิดของตนไปอาศัยในดินแดนที่ตนเองไม่รู้จักไม่คุ้นเคยเพื่อความปลอดภัย เราอาจรู้จักคนกลุ่มนี้ในนาม ‘ผู้ลี้ภัย’ ซึ่งการลี้ภัยเกิดขึ้นมาโดยตลอดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ประเทศไทยเองก็ได้เผชิญกับการลี้ภัยของผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในช่วงสงครามเย็นทั้งสงครามเวียดนาม การรุกรานสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา(เขมรแดง) ของเวียดนาม รวมถึงความขัดแย้งในเมียนมาที่กินระยะเวลายาวนานล้วนทำให้เกิดการลี้ภัยของประชาชนจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาในประเทศไทย ปัญหาผู้ลี้ภัยเป็นปัญหาระดับโลกที่สหประชาชาติตระหนักถึงเช่นเดียวกันจึงเกิดอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี 1951 ซึ่งกำหนดความหมายของคำว่า ‘ผู้ลี้ภัย’ สิทธิของผู้ลี้ภัย ตลอดจนพันธกรณีของรัฐภาคีในการคุ้มครองผู้ลี้ภัย...

คณาจารย์-ประชาชนร้องถึงนายกฯ คุ้มครองนักศึกษาเมียนมาในไทย ที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม

คณาจารย์ ประชาชนและสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาที่ยั่งยืน (RCSD) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ร่วมลงชื่อส่งจดหมายเปิดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี ,เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ส่งจดหมายเปิดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี ,เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ...

สงกรานต์เมียนมาในวันที่ดอกประดู่ไม่บาน

ในช่วงสงกรานต์นั้นเป็นช่วงที่ผู้คนแห่กันจองรถทัวร์และรถไฟกันเต็มเพื่อกลับไปยังบ้านเกิด ภูมิลำเนา สถานที่ที่ตัวเองจากมา หลายคนมักจะจำภาพของเทศกาลสงกรานต์เป็นประเพณีการละเล่นสาดน้ำประแป้ง ประเพณีทางวัฒนธรรมอย่างการสรงน้ำพระ ขนทรายเข้าวัด หรือดำหัวผู้ใหญ่ และในขณะเดียวกันก็เป็นเทศกาลที่หลายคนต่างเฝ้ารอเพราะนั่นเป็นเวลาของ “การกลับบ้าน” ของคนที่ต้องจากบ้านไปไม่ว่าจะด้วยการศึกษาหรือการทำงาน ทว่ากลับบางคนนั้นไม่สามารถกลับไปยัง“บ้าน” ของเขาได้ คำว่าสงกรานต์มาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า สํกฺรานฺติ (संक्रान्ति) หมายความว่า "การเปลี่ยนผ่านของดวงดาว" ประเพณีนี้ไม่ได้มีเพียงเฉพาะล้านนาเท่านั้น...

กะเหรี่ยง แม่น้ำเมย ข้อพิพาทเขตแดนไม่ไกลจากเมืองเมียวดี

สถานการณ์ชายแดนเมียนมาที่เมืองเมียวดี ตรงข้ามกับอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ดูจะน่าวิตกภายหลังกองทัพกะเหรี่ยง (KNU/PDF) ได้เข้ายึดค่ายของกองทัพเผด็จการทหารเมียนมาเป็นเวลากว่าหลายวัน ชาวบ้าน พี่น้องชาติพันธุ์บริเวณชายแดนที่ได้รับความเดือดร้อน เริ่มอพยพเคลื่อนย้ายเข้าฝั่งไทย ชวนสังเกตก่อนมีพรมแดนรัฐชาติ ผู้คนบริเวณแถบแม่น้ำเมยเป็นอย่างไร อำนาจรัฐลงไปถึงหรือไม่ มีรายงานจากฝั่งไทยไม่ไกลจากเมียวดี แต่ใกล้เคียงเมาะลำเลิง สมัยรัชกาลที่ 3 ภายหลังจักรวรรดิอังกฤษเข้ายึดครองพม่าได้อย่างสงบราบคาบแล้ว จึงตกลงทำแผนที่เขตแดน...

คปฐ. ร้อง ‘เศรษฐา’ เร่งรับมือความรุนแรง ชายแดนไทย-เมียนมา หลังชาวเมียนมา ทะลักหนีภัยเข้าด่านแม่สอดกว่า 4,000 คน

11 เมษายน 2567 เครือข่ายปฏิรูปการโยกย้ายถิ่นฐาน (คปฐ.) ร่อนจดหมายเปิดผนึก ถึง เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ขอให้เร่งเตรียมความพร้อมในการรับมือผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศเมียนมา โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดตาก หลังสถานการณ์ ชายแดนไทย-เมียนมา ตรงข้ามพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ตั้งแต่วันที่...

MMN ร้องรัฐปลายทางต้องมีมาตรการช่วยผู้อพยพเมียนมา เหตุถูกบังคับส่งเงิน ภาษีซ้ำซ้อน บังคับเกณฑ์ทหาร

เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2567 เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MMN) ออกแถลงการณ์ หัวข้อ "ผลกระทบจากนโยบายของเมียนมาเกี่ยวกับการบังคับส่งเงิน การเก็บภาษีซ้ำซ้อน และการเกณฑ์ทหารของผู้ย้ายถิ่น" โดยมีข้อเสนอถึงประเทศปลายทางที่ชาวเมียนมาอาศัยปกป้องสิทธิทางด้านการเงิน ภาษี บังคับเกณฑ์ทหารและสถานะทางกฎหมาย โดยมีเนื้อหาในแถลงการณ์ดังนี้ ในฐานะเครือข่ายระดับอนุภูมิภาคขององค์กรภาคประชาสังคม เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MMN)...

“ขอเราจงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว“ นักกิจกรรมไทย-เมียนมา จัดกิจกรรมรำลึกครบรอบ 3 ปี รัฐประหารเมียนมา

1 กุมภาพันธ์ 2567 ภาคีเครือข่ายนักกิจกรรมเมียนมาและไทย จัดกิจกรรม UP AGAINST THE DICTATOR-SHIT เพื่อรำลึกวันครบรอบ 3 ปีของการรัฐประหารในประเทศเมียนมา ตั้งแต่เวลา 17.00 - 19.00 น....

3 ปีรัฐประหารเมียนมา: สถานการณ์ พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง

รัฐประหารเมียนมาในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2021 ได้เติมบาดแผลฉกรรจ์ให้กับประเทศและประชาชนในเมียนมาที่เดิมบอบช้ำจากปัญหาทางการเมืองอย่างยาวนานตั้งแต่เมียนมาได้รับเอกราช โดยเฉพาะความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ การปกครองโดยเผด็จการทหาร และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง แม้ในช่วงปี 2011-2020 ประเทศเมียนมาเข้าสู่การปฏิรูปทางการเมืองภายใต้รัฐบาลกึ่งประชาธิปไตย แต่เป็นการเปลี่ยนผ่านที่ถูกควบคุมโดยระบอบทหารผ่านรัฐธรรมนูญปี ค.ศ. 2008 ช่วงสิบปีก่อนรัฐประหารจึงมีฉากหน้าเสมือนเป็นประชาธิปไตย แต่ปัญหาทางการเมืองที่สะสมไว้ใต้พรมนั้นรอการปะทุ การสู้รบของกองกำลังติดอาวุธกลุ่มชาติพันธุ์...

‘สามัญชนไร้พรมแดน’ เมื่อคนธรรมดามิใช่เจ้าชีวิตต้องลุกขึ้น

เรื่อง: กองบรรณาธิการ Lanner ภาพ: Techin Rungwattanasophol จากการลุกขึ้นสู้ของสามัญชนคนธรรมดา ที่ต่างปฏิเสธการกดขี่จากอำนาจของเผด็จการ เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมและความเท่าเทียมทางสังคมให้เกิดขึ้น นับตั้งแต่ช่วงสถานการณ์ทางการเมืองที่ถดถอยจากการรัฐประหาร การยึดอำนาจทางการเมืองที่ยังคงเป็นวังวนซ้ำ ๆ ที่ยังคงเกิดขึ้น ไม่ใช่แค่ในประเทศไทย (ที่แม้วันนี้จะมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งแล้ว?) แต่เพื่อนบ้านอย่างเมียนมาเองก็ต้องเผชิญการรัฐประหาร ที่แม้จะมีการอารยะขัดขืนต่อต้านอำนาจรัฐในทุกหย่อมหญ้า แต่ก็แลกมาด้วยความสูญเสียด้วยเลือดและชีวิต THE RESISTANCE...

‘ติดกับดักนรก’ เปิดรายงานการค้ามนุษย์เหยื่อของอิทธิพลจีนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐฉาน หลังรัฐประหารเมียนมา

“ติดกับดักนรก การค้ามนุษย์ การเอาคนลงเป็นทาส และการทรมานเยาวชน โดยแก๊งชาวจีน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐฉาน หลังการทำรัฐประหาร 2564 ในพม่า”  รายงานโดยมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ ที่เผยแพร่เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ตัวรายงานมีจุดประสงค์เพื่อเตือนให้ประชาชนโดยเฉพาะเยาวชนในพื้นที่รัฐฉานและเมียนมาให้ทราบถึงความอันตรายในการไปทำงานในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐฉาน เพื่อที่จะสามารถป้องกันตนเองจากการตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์และการปฏิบัติโดยมิชอบได้ รายงานดังกล่าวเป็นการรวบรวมข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์เหยื่อหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการค้ามนุษย์ และการหลอกลวงออนไลน์โดยกลุ่มผู้กระทำชาวจีนในช่วงหลังการทำรัฐประหารในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2564 ที่ผ่านมา โดยผู้สัมภาษณ์เป็น...

‘ทิ้งพม่าผ่านไทย’ แกะรอยเส้นทางขนขยะพลาสติกต่างประเทศ

เรื่อง: เทวฤทธิ์ มณีฉาย, ศิชา รุ่งโรจน์ธนกุล, กรรณิกา เพชรแก้ว เครือข่ายผู้สื่อข่าวนานาชาติไลต์เฮ้าส์รีพอร์ต (Lighthouse Reports) และประชาไท ตรวจสอบข้อมูลกรณีขยะพลาสติกจากยุโรปและอเมริกาเหนือถูกทิ้งในเมียนมา พบว่าไทยถูกใช้เป็น ‘ทางผ่าน’ ชวนแกะรอยเส้นทางและบทบาทที่ถูกซ่อนไว้ และแม้ว่ารัฐบาลไทยประกาศห้ามนำเข้าขยะพลาสติก ในปี 2568 แต่นั่นไม่รวมถึง...

เผด็จการทหารเมียนมาหารือจีนกระชับความสัมพันธ์ด้านการลงทุน

แปลจาก https://www.irrawaddy.com/news/myanmars-crisis-the-world/myanmar-regime-discusses-deeper-chinese-investment.html เฉินไห่(Chen Hai) เอกอัครราชทูตเดินทางเยือนเมียนมาเพื่อพบปะกับตานฉเว่รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศของเผด็จการทหารเพื่อหารือเรื่องโครงการริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง  ผู้นำเผด็จการทหารมินอ่องหล่ายไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมครบรอบ 10 ปีโครงการริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางเมื่อสัปดาห์ที่แล้วในปักกิ่งแม้ว่าเผด็จการทหารจะพยายามล็อบบี้อย่างหนักก็ตาม เพจเฟสบุ๊คสถานทูตจีนกล่าวว่า เฉินเสนอความร่วมมือบนพื้นฐาน “แปดก้าวหลัก” ที่ประกาศโดยประธานาธิดีสีจิ้นผิงในการประชุมโครงการริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางเพื่อให้ทั้งสองประเทศเฟื่องฟู ในเพจยังกล่าวว่า พวกเขาหารือเรื่องการสนับสนุนจากจีนเพื่อการพัฒนาประเทศของเผด็จการทหารและความร่วมมือระหว่างประเทศซึ่งอาจหมายถึงอาเซียน วลาดิมีร์ ปูตินประธานาธิบดีรัสเซีย, เศรษฐา ทวีสินนายกรัฐมนตรีไทย, โจโก วิโดโดประธานาธิบดีอินโดนีเซีย,...

คนไทย-ต่างชาติกว่า 500 ชีวิต ถูกใช้เป็นโล่กำบังทหารแนวหน้า ในเมืองเล้าก์ก่าย ประเทศเมียนมา

เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566 สำนักข่าว The Irrawaddy รายงานว่าหนึ่งในกลุ่มผู้ช่วยเหลือเหยื่อการค้ามนุษย์แก๊งฉ้อโกงออนไลน์รายงานว่า เกิดเหตุการณ์การสู้รบในเมืองเล้าก์ก่ายทางตอนเหนือของรัฐฉาน โดยมีคนไทยเกือบ 200 คน และชาวต่างชาติรวมกว่า 500 คน ถูกกองทัพทหารเมียนมาควบคุมตัวไว้ในค่ายทหารแนวหน้า เพื่อใช้เป็นโล่กำบัง ทั้งนี้...

เรื่องเล่า ,มิอาจแบ่งแยก นิทรรศการเจาะลึกบทบาทแพทย์หลังรัฐประหารในเมียนมา

เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2566 ที่สมาคมฝรั่งเศส เชียงใหม่ ​(Alliance Française de Chiang Mai) โดย กลุ่ม A New Burma, Anagat,...

เด็กจำนวนมากเสียชีวิตจากการโจมตีทางอากาศของเผด็จการทหารเมียนมาในรัฐคะฉิ่น

ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศเกือบ 30 รายเสียชีวิตจากการโจมตีทางอากาศด้วยโดรนจากเผด็จการทหารเมียนมาที่หมู่บ้านใกล้กับศูนย์บัญชาการของกองทัพอิสรภาพคะฉิ่น (Kachin Independence Army:KIA) ซึ่งเป็นหนึ่งในกองกำลังชาติพันธุ์ในเมียนมา ที่เมืองไลซา ตอนเหนือของประเทศเมียนมาเมื่อเที่ยงคืนวันจันทร์ที่ผ่านมา กองทัพเมียนมาเริ่มการโจมตีเวลา 23.25 น. ของวันที่ 9 ตุลาคม 2566 ที่หมู่บ้านโมนไลเขต ซึ่งมีผู้พลัดถิ่นภายในกว่า...

เมียนมาและความตายของอาเซียน

แปลจาก https://www.irrawaddy.com/opinion/guest-column/myanmar-and-the-death-of-asean.html  เป็นเวลากว่า 2 ปีครึ่งแล้วที่พลเอกอาวุโสมินอ่องหล่ายส่งรถถังเข้าย่างกุ้งและเนปิฎอว์เพื่อรัฐประหาร ซึ่งคำถามที่สำคัญในเวลานี้ไม่ใช่ความเป็นสมาชิกของเมียนมาในประชาคมอาเซียนจะแก้ปัญหาเรื่องการยึดอำนาจอย่างไรแต่เป็นการรวมตัวระดับภูมิภาคนี้จะผ่านพ้นวิกฤตในปัจจุบันไปได้อย่างไร เหล่านักวิเคราะห์ชี้ให้เห็นจุดอ่อนและช่องโหว่ของอาเซียนอีกครั้งจากความไม่มีประสิทธิภาพทางการเมืองเป็นสิ่งที่ไม่สำคัญในภูมิภาค ทุกสัญญานบ่งชี้ว่าจีนได้ช่วงชิงการนำและเสริมสถานะของตนในภูมิภาคนี้ในขณะที่ตะวันตกซึ่งเป็นพลังที่สำคัญในการกดดันเหล่านายพลเมียนมากำลังยึ่งกับสงครามรัสเซีย-ยูเครน ความพยายามครั้งแรกที่อ่อนแอในการพูดถึงปัญหาการยึดอำนาจของมินอ่องหล่ายเกิดขึ้นใน 24 เมษายน ปี 2021 ในการประชุมอาเซียนที่จาการ์ตาซึ่งเหล่าผู้นำอาเซียนเห็นชอบ”ฉันทามติ 5 ข้อ” ที่เรียกร้องให้ยุติความรุนแรงโดยทันทีรวมถึง ”การพูดคุยอย่างสร้างสรรค์” ระหว่าง...

เปิดตัวร้าน Golden Land Solidarity Collective

เป็นเวลากว่า 2 ปีแล้วที่รัฐประหารในเมียนมานำไปสู่สงครามกลางเมืองเต็มรูปแบบระหว่างกองทัพเมียนมาและกลุ่มต่อต้านต่าง ๆ ที่กระจายตัวกันอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของเมียนมา สงครามนี้ทำให้เกิดผลกระทบต่อชาวเมียนมาอย่างยากที่จะจินตนาการได้ ชาวเมียนมาต้องเผชิญกับความโหดร้ายจากระบอบทหารทั้งการสังหาร ทรมาณ บังคับสูญหาย และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอีกนับไม่ถ้วน นอกเหนือจากการต่อสู้ของชาวเมียนมาภายในประเทศแล้ว ภายนอกประเทศอย่างประเทศไทยก็มีการช่วยเหลือการต่อสู้ของชาวเมียนมาอย่างช้านานตั้งแต่การต่อสู้ในปี 1988 เป็นต้นมา ซึ่งกลุ่มคนไทยและชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยได้รวมตัวกันเพื่อช่วยเหลือเพื่อนชาวเมียนมาในการต่อสู้เสมอมา ในวันที่ 5 สิงหาคม...

8888 Uprising In Chaingmai เชียงใหม่กับการเคลื่อนไหวของขบวนการประชาธิปไตยเมียนมาหลังปี’88

เรื่อง: ปณิธ ปวรางกูร เป็นเวลากว่า 35 ปีแล้วจากการลุกฮือครั้งใหญ่ของชาวเมียนมาเพื่อล้มระบบเผด็จการทหาร ในวันที่ 8 สิงหาคม 1988 หรือที่เรียกว่า 8888 Uprising สาเหตุเกิดจากการไม่พอใจในการบริหารประเทศของรัฐบาลทหาร เน วิน ซึ่งทำการรัฐประหารล้มรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของอดีตนายกรัฐมนตรี อู...

ระดมทุนช่วยเหลือผู้ลี้ภัยเมียนมา จากสงครามในรัฐ Karenni

ที่บริเวณลานดิน จ.เชียงใหม่ องค์กรเคลื่อนไหวประเทศเมียนมาจัดกิจกรรม ‘Fund Raising Food sale to Support IDPs in Karenni state’ เพื่อระดมทุนช่วยเหลือผู้พลัดถิ่นชาวเมียนมา (IDPs) กว่า 210,000...

ภาคประชาสังคมเมียนมาร่วมแถลงประณามการประชุมร่วมกับรัฐมนตรีเมียนมา วอนไทย ‘อย่าเร่งความรุนแรงในประเทศ’

Progressive Voice Myanmar องค์กรภาคประชาสังคมในเมียนมาเผยแพร่จดหมายเปิดผึก ประณามการประชุม ‘Track 1.5’ ที่มีการเชิญตัวแทนจากรัฐบาลทหารเมียนมาที่ผิดกฎหมาย เป็นการประชุมที่จัดขึ้นโดยนายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐบาลรักษาการของไทย และจะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 2566 โดยมีเนื้อหาดังนี้ ‘พวกเราเป็นตัวแทนองค์กรภาคประชาสังคมในเมียนมา ขอประณามอย่างรุนแรงต่อการประชุมลับ...

การเลือกตั้งของไทยมีความหมายอย่างไรกับเมียนมา

รัฐบาลนำโดยฝ่ายก้าวหน้าในกรุงเทพฯ อาจใช้แนวทางใหม่เพื่อเผชิญวิกฤตในประเทศเพื่อนบ้าน By Oren Samet, a Ph.D. candidate in the political science department at the University of California,...

Rapper เมียนมาถูกรวบ หลังวิพากษ์วิจารณ์การจัดการไฟฟ้าของรัฐบาลทหาร

เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2566 สำนักข่าวไทยรายงานว่า Rapper ชื่อดังของเมียนมา ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลทหารกรณีไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้างถูกจับกุม โดยกองทัพเมียนมาระบุว่า เขาถูกจับในความผิดฐานเผยแพร่โฆษณาชวนเชื่อ ซึ่งเป็นรายล่าสุดที่ถูกทางการเมียนมากวาดล้างผู้ที่มีความเห็นต่าง ทีมงานประชาสัมพันธ์ของกองทัพกล่าวในแถลงการณ์เมื่อวานนี้ว่า บยู่ ห่า (Byu Har) Rapper คนดังถูกจับกุมจากการที่เขายุยงโดยมีความประสงค์ที่จะทำลายสันติภาพและเสถียรภาพของประเทศและกระทำการที่เป็นการเผยแพร่โฆษณาชวนเชื่อ...

Myanmar Diaries สารคดีการต่อสู้ของชาวเมียนมาฉายแล้ววันนี้ SF เมญ่าเชียงใหม่!

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 วันหนึ่งที่ชีวิตของผู้คนในเมียนมาต้องเปลี่ยนจากความฝันประธิปไตย สู่ความจริงเผด็จการทหาร ในขณะที่การอารยะขัดขืนและการต่อต้านกระจายอยู่ทั่วประเทศ ความรุนแรงโดยรัฐก็โต้กลับอย่างแสนสาหัส สื่อกระแสหลักภายในประเทศถูกควบคุมสิทธิเสรีภาพ แต่ภายใต้การปิดปาก ก็ยังคงมีสายตาที่พยายามบันทึกท่วงทำนองของความทรงจำอยู่ Myanmar Film Collective คือกลุ่มคนทำหนังรุ่นใหม่ ที่พยายามถ่ายทอดเรื่องราวของประชาชนเมียนมา ที่สำคัญคือการถ่ายทำครั้งนี้ต้องหลบซ่อนสายตาของรัฐ เพื่อความปลอดภัยคนทำหนังและผู้ที่ปรากฏตัวในหนังจะไม่เปิดเผยตัวตนเนื่องจากเหตุผลด้านความปลอดภัย...