หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
คลินิกกฎหมายสิ่งแวดล้อม
-
‘ผันน้ำยวม’ เมื่อแม่น้ำร้องไห้ บนการพัฒนาที่มองไม่เห็นชีวิต
เรื่อง: ธนพล สังข์ทอง, กชพรรณ ศรีบรรเทา “เขาบอกแต่ว่าเราจะได้น้ำใช้ แต่เขาไม่เคยบอกว่าเราจะเสียอะไรไป..” เสียงจากชาวบ้านบ้านแม่งูด ผู้ซึ่งอาจได้รับผลกระทบจากโครงการผันน้ำยวมกล่าว บ้านเรือนอาจต้องกลายเป็นสุสานใต้เขื่อน ที่ทำกินและสายน้ำแห่งชีวิตอาจถูกแทนที่ด้วยภูเขากองดิน ไร่นาอาจต้องจมดิ่งใต้ผืนน้ำ ‘โครงการผันน้ำยวม’ แผนพัฒนาเศรษฐกิจซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้คนในพื้นที่อย่างมหาศาล แต่กลับไร้การมีส่วนร่วมของประชน.. ‘โครงการผันน้ำยม’ คืออะไร? ‘โครงการผันน้ำยวม’ คือโครงการขนาดใหญ่ของกรมชลประทาน มูลค่ากว่า 88,745...
-
เชียงใหม่ เมืองสวย ไร้สาย ‘เมืองตู้ไฟ’ ที่ผลักไสคนพิการ
เรื่อง: ธนกฤต ศรีสมเพ็ชร, ธีระวีร์ คงแถวทอง “คนพิการมักเป็นกลุ่มแรกที่ถูกลืม และเป็นกลุ่มสุดท้ายที่ถูกนึกถึงในการพัฒนาทางเท้า” หากพูดถึงบริการสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของผู้คน หนึ่งในนั้นก็คงหนีไม่พ้นสิ่งที่เรียกว่า ‘ทางเท้า’ ซึ่งควรเป็นบริการที่ทุกคนเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม ขณะเดียวกันการเดินบนทางเท้าก็ควรที่จะเป็นเรื่องง่ายและปลอดภัยสำหรับทุกคน แต่ในความเป็นจริงกลับต่างออกไป ทางเท้าของเรามักเต็มไปด้วยอุปสรรคที่สร้างความยากลำบากให้กับผู้สัญจรไปมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับ ‘คนพิการ’ การเดินบนทางเท้าที่ไม่ราบเรียบและมีสิ่งกีดขวางอยู่ตลอดทางเป็นปัญหาที่อาจทำให้หลายคนรู้สึกหงุดหงิดใจ แต่สำหรับคนพิการ มันคือความลำบากที่มากขึ้นเป็นเท่าตัว...
-
‘กะเบอะดินแมแฮแบ’ เรื่องราวของคนเล็กกับการต่อสู้ที่ยิ่งใหญ่เพื่อยับยั้งเหมืองถ่านหินอมก๋อย
เรื่อง: นันท์นภัส ปิ่นไชย, ศุภนุช สีแดงน้อย, พรชิตา ฟ้าประทานไพร “กะเบอะดินแมแฮแบ” ถ้อยคำนี้ดังกึกก้องขึ้นในพิธีกรรมบวชป่าจิตวิญญาณ เมื่อช่วงต้นปี 2563 ซึ่งเป็นเสียงที่สะท้อนถึงความตั้งใจอันแน่วแน่ของชาวกะเหรี่ยงบ้านกะเบอะดิน ที่ร่วมกันประกาศจุดยืนว่า “กะเบอะดินไม่เอาเหมืองแร่” เสียงนี้ไม่ใช่เพียงการปฏิเสธโครงการเหมืองถ่านหินที่อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ แต่เป็นเสียงสะท้อนแห่งฉันทามติร่วมกันของชุมชน ที่ยืนยันถึงสิทธิ์ในการรักษาผืนดินถิ่นฐานซึ่งสืบทอดมาตั้งแต่บรรพชน และความตั้งใจที่จะส่งมอบดินแดนนี้ให้กับคนรุ่นถัดไปด้วยโลกในแบบที่พวกเขาปรารถนา.. ‘กะเบอะดิน’ ดินแดนมหัศจรรย์ ‘กะเบอะดิน’...
-
‘อากาศที่ดี’ ต้องมีให้แก่ทุกคน ปอดประชาชนไม่ใช่เครื่องกรองฝุ่น PM2.5
เรื่อง: พนัชพรรณ ธนวโรดม ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ภาคเหนือของไทยได้เผชิญกับปัญหาหมอกควันและฝุ่น PM2.5 เป็นเวลายาวนาน และมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นต่อเนื่อง จึงทำให้มีคุณภาพอากาศเสื่อมโทรมและรุนแรงมากขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งไม่ได้รับการจัดการแก้ไขปัญหานี้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังส่งผลกระทบต่อประชาชนทุกคนมาโดยตลอด เช่น สุขภาพของประชาชน คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว รวมทั้งปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย สถานการณ์ฝุ่น...
-
‘โรงไฟฟ้าขยะป่าหุ่ง’ การต่อสู้ที่ยังไม่สิ้นสุด
เรื่อง: สิริธารย์ อินทร์น้อย นับแต่ปี 2557 ที่ประเทศไทยเกิดรัฐประการครั้งที่ 13 ในช่วงเวลาแห่งความมืดมนอลหม่าน คสช. ได้ผลักดันให้นโยบาย ‘การจัดการขยะ’ เป็น ‘วาระแห่งชาติ’ ควบคู่กับการจัดทำ Roadmap ว่าด้วยเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย รวมถึงแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ....