หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
สื่อออนไลน์ภาคเหนือ เพื่อคุณภาพชีวิตของทุกคน
Lanner
สื่อออนไลน์ภาคเหนือ เพื่อคุณภาพชีวิตของทุกคน
Lanner
สื่อออนไลน์ภาคเหนือ เพื่อคุณภาพชีวิตของทุกคน
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
สื่อออนไลน์ภาคเหนือ เพื่อคุณภาพชีวิตของทุกคน
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
ชาติพันธุ์
ข่าว
รัฐบาลรับ 6 ข้อเสนอ “คนอยู่กับป่า” ตั้งคณะทำงานแก้ปัญหากฎหมายที่ดิน-ป่าไม้
1 เมษายน 2568 การเคลื่อนไหวของสมัชชาชุมชนคนอยู่กับป่า (สชป.) และสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) ซึ่งปักหลักชุมนุมหน้าศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่มาตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคมที่ผ่านมา หลังจากที่เครือข่ายฯ กดดันรัฐบาลต่อเนื่องยาวนานถึง 9 วัน เพื่อผลักดัน 6 ข้อเรียกร้องที่ต้องการให้รัฐบาลแก้ไขปัญหากฎหมายป่าไม้ที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิของประชาชนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ โดยในวันนี้ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญเนื่องจากเมื่อวันที่...
ข่าว
“คนอยู่กับป่า” รอเจรจาเข้าวันที่ 6 หลังรองนายกฯ เลื่อนนัด เหตุแผ่นดินไหว – ปฏิเสธประชุมผ่านวิดีโอ ยันเจรจาแบบพบหน้าเท่านั้น
29 มีนาคม 2568 – การชุมนุมของเครือข่าย สมัชชาชุมชนคนอยู่กับป่า (สชป.), สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) และเครือข่ายชาติพันธุ์ ดำเนินต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ ท่ามกลางความต้องการว่าวันนี้จะมีการเจรจากับ ประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรี...
ข่าว
“คนอยู่กับป่า” เข้าวันที่ 4 ปักหลักหน้าศาลากลางเชียงใหม่ รอรองนายกฯ ถกเจรจา ‘พ.ร.ฎ.ป่าอนุรักษ์’ – เสวนาชำแหละผลกระทบกฎหมายโลกร้อนต่อชุมชน
27 มีนาคม 2568 – การชุมนุมของเครือข่ายคนอยู่กับป่า นำโดยสมัชชาชุมชนคนอยู่กับป่า (สชป.) และสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) ดำเนินต่อเนื่องเป็นวันที่ 4 ที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อรอการเดินทางของ ประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรี ที่ให้คำมั่นว่าจะเดินทางมาร่วมประชุมเจรจากับประชาชนในวันที่...
ข่าว
ผู้ว่าฯ เชียงใหม่รับข้อเรียกร้อง “คนอยู่กับป่า” เตรียมส่งถึงรองนายกฯ ด้าน สชป. ยังปักหลักอย่างไม่มีกำหนด
25 มีนาคม 2568 เวลา 12.54 น. เครือข่ายสื่อชนเผ่าพื้นเมือง IMN รายงานว่า หลังจากการชุมนุมอย่างต่อเนื่องของ สมัชชาชุมชนคนอยู่กับป่า (สชป.), สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) และเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์ บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ ผู้ว่าราชการจังหวัด...
ข่าว
สมัชชาชุมชนคนอยู่กับป่า-สกน. แถลงรวมพลทวงสัญญารัฐบาล 24 มี.ค. นี้ศาลากลางเชียงใหม่ หลังข้อตกลงกฎหมายป่าอนุรักษ์ละเมิดสิทธิชุมชนไม่คืบ
19 มีนาคม 2568 เวลา 16.00 น. สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.), สมัชชาชุมชนคนอยู่กับป่า (สชป.) และแนวร่วมผู้ได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้กฏหมายและนโยบายที่ละเมิดสิทธิชุมชน ร่วมแถลงข่าวเตรียมเคลื่อนไหวทวงสัญญารัฐบาล แก้ไขปัญหาคนอยู่กับป่า ที่ อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยแถลงได้ระบุว่า...
เจาะประเด็น
“คนควรเป็นคนเท่ากัน” เสียงสะท้อนในไร่หมุนเวียน อคติใครกำหนด
เรื่องและภาพ : ปรัชญา ไชยแก้ว “เราโดนมาตลอด บอกว่าคนปกาเกอะญอ บุกรุกป่า เผาป่า ทั้งที่เราอยู่กับป่ารักษาป่าทำแนวกันไฟทุกปี แต่ก็ยังโดนว่า บางครั้งก็ใจอ่อน เราเจ็บใจมาก ตอนเด็กเรายังไม่รู้ภาษาไทย ก็จะโดนดูถูกว่าเราไม่รู้อะไร มองเราว่าไม่ใช่คนไทย จะตอบกลับเขาเราก็พูดไม่เป็น” เสียงของ แววดาว หยดวิไพกุล...
ข่าว
เครือข่ายชาติพันธุ์ฯ แถลงจี้ สว. หยุดอคติ แก้กฎหมายคืนสิทธิฟังเสียงชาติพันธุ์-ชนเผ่าพื้นเมือง
3 มีนาคม 2568 เวลา 12.00 น. ที่ โรงแรมเมอร์เคียว เชียงใหม่ ‘เครือข่ายชุมชนสนับสนุนกฎหมายชาติพันธุ์’ ได้ออกแถลงการณ์เรื่อง บทบาท สว. กับการกลั่นกรองกฎหมายชาติพันธุ์ สิทธิและศักดิ์ศรีต้องไม่ตกต่ำกว่าร่างของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีเนื้อหาดังนี้ นับจากสภาผู้แทนราษฎรได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ ฉบับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแล้วเสร็จ...
ข่าว
เปิดข้อค้นพบ ‘สัมปทานไม้-โลกรวน’ ปัจจัยดินถล่มกันยา 67 ห้วยหินลาดใน
ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2567 ชุมชนบ้านห้วยหินลาดใน อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ต้องประสบกับภัยน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มจากฝนตกหนักต่อเนื่องหลายวัน อันเป็นผลจากสภาพอากาศแปรปรวนและปริมาณน้ำฝนสะสมสูง ทำให้ดินอุ้มน้ำจนเกิดการพังทลาย ส่งผลให้บ้านเรือนเสียหาย 7 หลัง ถนนถูกตัดขาด ระบบไฟฟ้าและประปาหยุดชะงัก สะท้อนถึงความเปราะบางของชุมชนบนพื้นที่สูงที่แม้จะมีการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน แต่ก็ยังคงได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้วยเหตุนี้...
ข่าว
ฟังเสียงพ่อหลวงบ้านกลาง ลำปาง หลัง ‘อนุทิน’ สั่งห้ามเผา 3 เดือน จี้ไม่เข้าใจวิถีชุมชนท้องถิ่น
จากกรณีที่ อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.มหาดไทย ได้แถลงหลังการประชุมกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บกปภ.ช.) ให้ทุกหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่ดครัดใน 3 เดือนนี้จะต้องไม่มีการเผาป่า เผาในที่โล่งแจ้ง เผาซากผลผลิตการทางการเกษตร โดยในที่ประชุมเห็นพ้องกันว่าต้องไม่เผา ซึ่งจะมีการดำเนินคดี มีมาตรการลงโทษและจะไม่ได้รับเงินช่วยเหลือหรือสิทธิการช่วยเหลือใดจากทางราชการ โดยได้สั่งการไปยังผู้ว่าฯ ทั้ง...
ข่าว
พีมูฟ-เลาฟั้ง โต้ ‘สื่อผู้จัดการ’ เขียนข่าวโจมตี ‘ชาติพันธุ์-ปชน.-เพื่อไทย’ ย้ำหยุดเป็นเครื่องมือรัฐขวางทางปัญหาที่ดินคนจน
สืบเนื่องจากวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 สื่อ MGROnline Live หรือ ผู้จัดการออนไลน์ ได้รายงานข่าวในกรณีของพรรคประชาชนที่ผลักดันร่าง พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ที่เสนอโดย เลาฟั้ง บัณฑิตเทิดสกุล สส.กลุ่มชาติพันธุ์ ของพรรคประชาชน ซึ่งมีเนื้อหาข่าวที่พาดพิงทั้ง...
ความคิดเห็น
‘ชีวิตที่รัฐยัดเยียดนี่หรือที่เรียกว่าอภิสิทธิ์ชน’ พชร คำชำนาญ เปิดเหตุผล ทำไมต้องกำหนดพื้นที่คุ้มครองกลุ่มชาติพันธุ์ หลังสภาฯ มีมติไม่รับรองม.27 ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองชาติพันธุ์
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ผ่านมา สภาผู้แทนราษฎรมีมติ ‘ไม่เห็นชอบ’ ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตชาติพันธุ์ พ.ศ. … ในหมวด 5 มาตรา 27 วรรค 2...
ข่าว
สำรวจทัศนคติ สส. ต่อประเด็นปัญหาที่ดินรัฐทับที่ทำกินกลุ่มชาติพันธุ์
ปัญหา ‘ป่าทับคน’ เป็นหนึ่งในสภาพการณ์ปัญหาหลักของพื้นที่ภาคเหนือที่สร้างผลกระทบต่อประชาชนอย่างกว้างขวางมาหลายทศวรรษ อันเกิดจากการที่ประชาชนได้อยู่อาศัยและทำกินในที่ดินนั้นมาก่อนการประกาศเป็นที่ดินของรัฐ และกระบวนการประกาศที่ดินของรัฐนั้นเป็นไปอย่างลักลั่นและขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประกาศเป็นเขตป่า ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ, เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า, เขตห้ามล่าสัตว์ป่า และป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งถือเป็นการบุกรุกที่ทำกินของประชาชน ไม่ใช่ประชาชนบุกรุกที่ดินรัฐ ซึ่งประชาชนกลุ่มที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือเกษตรกรรายย่อย คนยากจน และกลุ่มชาติพันธุ์ แนวคิดเรื่อง ‘พื้นที่คุ้มครองกลุ่มชาติพันธุ์’...
สัมภาษณ์
Lanner Joy: ‘ขยะลอแอะ’ วงดนตรีเยาวชนปกาเกอะญอที่อยากส่งต่อวิถีรักผืนป่าผ่านขวด ถัง หม้อ กะละมัง
เรื่องและภาพ: สุทธิกานต์ วงศ์ไชย ‘ขยะ’ สำหรับหลายคนอาจมองว่าเป็นสิ่งที่ดูไร้คุณค่าและไม่มีประโยชน์ แต่สำหรับเด็กกลุ่มหนึ่งในชุมชนบ้านหนองเต่า ขยะคือสิ่งที่มีมูลค่าและเป็นเหมือนเงินตราที่สามารถนำมาใช้แลกเปลี่ยนบทเรียนใหม่อย่างการเล่นดนตรี ที่ช่วยสร้างทักษะและพัฒนาประสบการณ์ชีวิตให้กับพวกเขา นอกเหนือจากการเรียนรู้จากในห้องเรียนทั่วไป อีกทั้งยังสร้างมิตรภาพของเด็กในชุมชนผ่านการออกไปช่วยกันเก็บขยะมาคัดแยกประเภทและการร่วมทำวงดนตรีด้วยกัน ‘วงขยะลอแอะ’ วงดนตรีของเยาวชนปกาเกอะญอบ้านหนองเต่า อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ที่นำเอาขยะในหมู่บ้านมาประดิษฐ์เป็นเครื่องดนตรี สร้างเสียงเพลงขับกล่อมชุมชน เพื่อฟื้นฟูและส่งต่อวัฒนธรรมการเล่นเครื่องดนตรีพื้นบ้านอย่าง ‘เตหน่า’ ที่ค่อยๆ...
ข่าว
‘วาระเชียงใหม่’ เปิดวาระชาติพันธ์ุเดินหน้าดันกฎหมายชนเผ่าพื้นเมือง ชูความหลากหลายคือความมั่นคง
23 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-18.00 น. วาระเชียงใหม่และสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ร่วมจัดงาน “วาระเชียงใหม่: วาระชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง ณ โครงการตลาดจริงใจมาร์เก็ต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนเริ่มงานได้มีกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงานและมีการแสดงดนตรีและวัฒนธรรมชนเผ่าพื้นเมือง ถ่ายทอดวิถีชีวิตผ่านบทเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับไร่หมุนเวียน การรักษาน้ำ การรักษาป่า...
ข่าว
‘ชาติพันธุ์ปลดแอก’ จัดวงรื้อประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ผ่านมรดกสงครามเย็น ส่งเสียงสะท้อนถึงรัฐธรรมนูญ
เรื่อง: ผกามาศ ไกรนรา ภาพ: วชิรญาณ์ วิรัชบุญญากร 9 สิงหาคม 2567 เวลา 09.00 - 11.00 น. เครือข่ายชาติพันธุ์ปลดแอก จัดวงเสวนา “รื้อประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์: กระบวนการสร้างและจัดความสัมพันธ์ของรัฐไทยต่อกลุ่มชาติพันธุ์ในไทยผ่านมรดกสงครามเย็น” ณ...
ข่าว
‘ห้วยหินลาดใน’ เปิดบ้านรับ รมว.วัฒนธรรม-กมธ.ชาติพันธุ์ฯ สะท้อนปัญหาป่าทับคน หาแนวทางคุ้มครอง ‘ไร่หมุนเวียน’
ภาพ : ปวรณ์รัชดล พุ่มเจริญ เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2567 สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม พร้อมด้วย ปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธานกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ ได้ลงพื้นที่ชุมชนปกาเกอะญอบ้านห้วยหินลาดใน...
ข่าว
สมัชชาสิ่งแวดล้อม จัดเวทีเหนือตอนบน ‘กระแสรักษ์สิ่งแวดล้อม VS การละเมิดสิทธิมนุษยชน’
ภาพ: มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2567 สมัชชาองค์กรเอกชน ด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากร และมูลนิธิพัฒนาภาคเหนือร่วมกับเครือข่ายได้จัดเวทีประชุมสรุปสถานการณ์สิ่งแวดล้อมภาคเหนือตอนบน ‘กระแสรักษ์สิ่งแวดล้อม VS การละเมิดสิทธิมนุษยชน’ ณ โรงแรมไอบิส สไตล์ เชียงใหม่ โดยภายในงานมีการวิเคราะห์สถานการณ์...
ข่าว
ชุมชนห้วยหินลาดใน ยื่นหนังสือ ผอ.สำนักป่าไม้ที่ 2 เชียงราย เผย จนท.ปฏิเสธแนะชุมชนไปแจ้งความ
เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2567 เวลา 15.00 น. ชาวบ้านในชุมชนห้วยหินลาดใน ชุมชนห้วยหินลาดนอก และชุมชนบ้านผาเยือง ตำบลบ้านโป่ง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ได้เดินทางไปยังสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2 จังหวัดเชียงราย เพื่อยื่นหนังสือถึงผู้อำนวยการสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่...
ข่าว
เปิดตัววิจัย ‘ไฟป่า ฝุ่นควัน ชาติพันธุ์ ไร่หมุนเวียน’ หวังสังคมเข้าใจวิถีชีวิตและลดอคติต่อชาติพันธุ์
28 พฤษภาคม 2567 มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ (มพน.) สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) ร่วมกับศูนย์สนับสนุนชุมชนสู้ไฟป่า โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้จัดงาน ‘ไฟป่า ฝุ่นควัน ชาติพันธุ์ ไร่หมุนเวียน’ ณ...
ข่าว
“เหนือตะวัน Fest” ธุรกิจที่ก้าวไปพร้อมกับวัฒนธรรมชาติพันธุ์
เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2567 สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ และกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษา (กสศ.) ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรม “เหนือตะวัน Fest” ตลาดงานคราฟท์สินค้าคุณภาพจากชุมชน ณ Get Family เกษตรกรในสวนเพื่อน ต.สันผีเสื้อ...
ความคิดเห็น
ฟังเสียงคนอยู่กับป่าในวันที่มาตรการแก้ไฟป่ากำลังแผดเผาผู้คน
วิกฤตฝุ่น PM2.5 ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่ประชาชนในภาคเหนือต่างต้องเผชิญมาอย่างยาวนาน จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข ในปี 2567 (ข้อมูล ณ วันที่ 13 มีนาคม 2567) คนภาคเหนือป่วยเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจถึง 298,689 ราย ซึ่งจังหวัดเชียงใหม่ผู้ป่วยเกี่ยวกับทางเดินหายใจกว่า 33,783...
ข่าว
กมธ.การเมืองฯ ลงพื้นที่บ้านกลาง สะท้อนข้อจำกัด กฎหมายป่าไม้-มาตรการห้ามเผา-การจัดการไฟ
เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2567 เวลา 09.00 – 16.00 น. คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ สภาผู้แทนราษฎร...
ความคิดเห็น
‘เอาะ มึ โอะเก’ เมื่ออาหารคือภาษาสามัญ บนพื้นที่กลางของเยาวชนชาติพันธุ์ที่ฝันเปลี่ยนแปลงสังคม
“เอาะ มึ โอะเก” เป็นภาษาปกาเกอะญอที่มีความหมายว่า มาร่วมมื้ออาหารอย่างเอร็ดอร่อยด้วยกัน เป็นเหมือนการเชื้อเชิญที่แสนสามัญ นอกจากความหมายดังกล่าวแล้ว ยังเป็นชื่อของกิจกรรม 'Equal space : เอาะ มึ โอะเก' ที่จัดโดย เครือข่ายเยาวชนชาติพันธุ์ภาคเหนือ (คชน.)...
ความคิดเห็น
‘The Rotate’ วิถีชนเผ่าพื้นเมือง ศาสตร์แห่งการหมุนเวียนเพื่อเปลี่ยนโลก
“ศาสตร์และศิลป์ในการอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติด้วยแนวคิด ‘หมุนเวียน’ ซึ่งเป็นแนวคิดที่บรรพบุรุษของเราให้ความสำคัญ ได้ส่งต่อมาจนถึงรุ่นของเรา จนในวันนี้ แนวคิดนี้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการรวมตัวกันของคนรุ่นใหม่ในชุมชนกะเหรี่ยงทั่วประเทศไทย เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนแนวคิด องค์ความรู้ ความเชื่อและส่งต่อเรื่องราวนี้สู่ทุกคน เป็นดั่งการหมุนและเวียนต่อไปไม่รู้จบ” ข้อความสื่อสารส่วนหนึ่งในนิทรรศการวิถีหมุนเวียน ในเทศกาล The Rotate Festival: เทศกาลหมุนเวียนชีวิตชนเผ่าพื้นเมือง ได้เชิญชวนทุกคนมาร่วมพบปะ แลกเปลี่ยน...
ข่าว
“คนกับป่า” เมื่อคนเมืองถือกล้องเดินเข้าบ้านห้วยหินลาดใน จ.เชียงราย ลั่นชัตเตอร์ความสัมพันธ์ระหว่างป่าเขา-คนปกาเกอะญอ
เรื่อง : รัชชา สถิตทรงธรรม “ทำไมเราต้องสื่อสาร แล้วถ้าเราไม่สื่อสาร คนข้างนอกจะรู้เรื่องราวและการมีอยู่ของเราได้อย่างไร” หนึ่งในประโยคจับใจที่ ประสิทธิ์ ศิริ ชาวปกาเกอะญอ บ้านห้วยหินลาดใน อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ได้กล่าวแสดงความรู้สึกต่อผู้ชมที่มาร่วมเปิดงานนิทรรศการภาพถ่าย “คนกับป่า” เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน...
ข่าว
‘เลาฟั้ง’ ชำแหละนโยบายที่ดินเขตป่ารัฐบาลเศรษฐา หวั่นสืบทอดแผนคสช.
12 สิงหาคม 2566 เวลา 01.20 น. ณ อาคารรัฐสภา เลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล สส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล สัดส่วนชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองได้อภิปรายนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา ในประเด็น สิทธิในที่ดินทำกินและทรัพยากรของเหล่าชาติพันธุ์ เลาฟั้ง กล่าวว่า หลังจากรัฐประหารปี...
เจาะประเด็น
‘ชาติพันธุ์’ กลุ่มคนที่ถูกเขียนบนประวัติศาสตร์โดยคนอื่น
เรื่อง: พีรดนย์ กตัญญู ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี การเดินทางและการสื่อสารกลายเป็นสิ่งที่ทำได้ง่ายมากขึ้น โลกในยุคปัจจุบันขยับกลับกลายเป็นสังคมไร้พรมแดน ผู้คนเริ่มตระหนักถึงความเป็นพลเมืองโลกของตนเอง อย่างไรก็ตาม สิ่งที่แบ่งแยกให้มนุษย์ยังคงความหลากหลายอยู่ คือคำว่า “ชาติพันธุ์” ชาติพันธุ์ ในความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง “กลุ่มที่มีพันธะเกี่ยวข้องกัน และที่แสดงเอกลักษณ์ออกมา...
ข่าว
‘ชาติพันธุ์ปลดแอก’ ปฏิบัติการชำระประวัติศาสตร์-มายาคติกดทับชาติพันธุ์ ทั่วเชียงใหม่
ภาพ: คณะก่อการล้านนาใหม่ - NEO LANNA 9 สิงหาคม 2566 เนื่องในวันชนเผ่าพื้นเมืองสากล กลุ่มชาติพันธุ์ปลดแอก ได้มีการชูป้ายเรียกร้อง “รื้อประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ จากชาวเขาสู่ชนเผ่าพื้นเมือง” “ปลดปล่อยชาติพันธุ์ จากอคติทางสังคม” “ผลักดันกฎหมายคุ้มครองชาติพันธุ์” บริเวณพิพิธภัณฑ์เรียนรู้ราษฎรบนพื้นที่สูง หน้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่...
ข่าว
วงถกรื้อประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์จากชาวเขาสู่ชนเผ่าพื้นเมือง แนะสู้เชิงโครงสร้างมากกว่าแค่อัตลักษณ์
9 สิงหาคม 2566 กลุ่มชาติพันธุ์ปลดแอกและคณะก่อการล้านนาใหม่ ได้จัดเสวนา “รื้อประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์จากชาวเขาสู่ชนเผ่าพื้นเมือง” เนื่องในวันชนเผ่าพื้นเมืองสากล ณ ห้องประชุม ธนี พหลโยธิน อาคาร 1 ชั้น 1 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่...
ข่าว
ชาติพันธุ์รุ่นใหม่แม่ฮ่องสอน จี้เจ้าหน้าที่ สบเมย-แม่สวด ชี้เหลื่อมล้ำด้านคุณภาพชีวิตคนกับป่า
3 สิงหาคม 2566 กลุ่มคนรุ่นใหม่ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปว์และปกาเกอะญอใน ต.แม่สวด อ.สบเมย จ.แม่ฮ่องสอน ร่วมกับสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) ในนามสมาชิกขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (พีมูฟ) ได้เคลื่อนไหวเรียกร้องการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ชุมชน โดยใช้โอกาสครบรอบ 13 ปี มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 3...
ความคิดเห็น
บุตรสาวกะเหรี่ยง : จากช้างเท้าหลังสู่เสาหลักครอบครัว
เรื่อง : จิรายุธ รวมสุข “ชาวกะเหรี่ยง” หากได้ยินคํานี้หลายคนก็คงจะมีภาพจําว่าหมายถึงชาติพันธุ์ชาวเขากลุ่มหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ระแวกเขตชายแดนไทย-พม่า แถบตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย หาเลี้ยง ชีพด้วยการ ปลูกพืชไร่หมุนเวียน และเลี้ยงสัตว์นิยมปลูกบ้านที่สร้างจากไม้ พื้นบ้านยกสูง มุงหลังคาหน้าจั่ว ด้วยหญ้าคา ภาพจําเช่นนี้ไม่ได้ผิดแต่อย่างใด เพียงแต่สังคมภายในชุมชนชาวกะเหรี่ยงนั้นเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา...
ความคิดเห็น
เรียน ลี้ หนีสงคราม
เรื่อง : ลักขณาวดี สาริบุตร การรัฐประหาร สงคราม สถานการณ์การเมืองที่ไม่มั่นคง ก่อให้เกิดปัญหามากมายตามมา แต่เหตุการณ์เหล่านี้ กลับเกิดขึ้นอย่างห้ามไม่ได้ หลายต่อหลายครั้งที่ “พม่า”ประเทศเพื่อนบ้านของเราไม่สามารถหลีกหนีได้พ้น และกลายเป็นผู้ลี้ภัยกันอย่างไม่เต็มใจ นอกจากมันจะทำให้ประเทศถอยหลังลงไปเรื่อย ๆ แล้ว ยังทำให้เศรษฐกิจในประเทศผันผวน การศึกษาย่ำแย่...
ข่าว
รื้อมรดกกฎหมายป่าไม้-ที่ดินคสช. ‘สกน.’ ยื่น 4 ข้อเรียกร้องถึงพิธา พร้อมดันเพดานสิทธิชาติพันธุ์
15 มิถุนายน 2566 สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) ได้ยื่นหนังสือถึง พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ในเวทีพรรคก้าวไกลพบภาคประชาสังคมกลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง ณ ศูนย์ฝึกอบรมงานพัฒนาชนเผ่าพื้นเมือง สมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ยืนยันข้อเสนอจากเครือข่ายที่ดิน-ป่าไม้ชาติพันธุ์ 4 ข้อ...
ข่าว
ชาติพันธุ์ ที่ดิน ป่าไม้และกองทัพ: ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย กฎหมายขนานใหญ่บนชีวิตจริงของผู้คน
เรื่อง: ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ - แรงงานวิชาการผู้พัวพันนโยบายที่ดิน-ป่าไม้ จากการเข้าร่วมเวทีพูดคุยเจรจาหาทางออก กรณีข้อร้องเรียนของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านห้วยตาด ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง ที่มีเครือข่ายสมาชิกสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง รวมถึงทีมงานว่าที่ ส.ส.เขต 3 ลำปางของพรรคก้าวไกลเข้าร่วมสังเกตการณ์ จากการถูกทหาร (ค่ายประตูผา)...
ข่าว
ชาวบ้านห้วยตาด อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง เจรจาทหารผ่อนผันทำกิน หลังทหารยึดที่ ด้านทหารย้ำต้องขอ ผบ.ทบ.รับรอง
6 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 น. มีการประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ กรณี การแก้ไขปัญหาพื้นที่ทับซ้อนระหว่างกองทัพบก โดยกองร้อยพิเศษที่ 3 (ค่ายประตูผา) และราษฎรที่ได้รับความเดือดร้อน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านดง อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง...
ข่าว
‘ชาติพันธุ์ปลดแอก’ แถลงจุดยืนเพื่อคุณภาพชีวิตดีกำหนดอนาคตตัวเองได้
2 พฤษภาคม 2566 เครือข่ายชาติพันธุ์ปลดแอก จาก 5 ชุมชน ได้ร่วมกัน ชุมชนกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่, ชุมชนบ้านห้วยมะกอก อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน, ชุมชนบ้านแม่ลาน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่,...
ข่าว
ค่ายเปิดโลกเยาวชนจากดอยสู่เล : เราล้วนเชื่อมโยงกันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
2 มีนาคม 2566 เรื่อง : ปรัชญา ไชยแก้ว การเดินทางด้วยรถไฟจบลง ทุกคนมาถึงกันที่สถานีกรุงเทพอภิวัฒน์ในตอนหัวค่ำ พร้อมกับการต้อนรับจากทีมงานของสมาคมคนรุ่นใหม่กับนวัตกรรมทางสังคม (SYSI) เปิดประสบการณ์ครั้งแรกของใครหลายคนในการเดินทางด้วยรถไฟฟ้า MRT และ BTS รถไฟฟ้าเสียงเงียบกริบกลางกรุง ในค่ำคืนที่ทุกคนต่างเหนื่อยล้า การนอนน่าจะเป็นการพักผ่อนเพื่อทำให้วันต่อไปมีพลังมากขึ้น เช้าตรู่ของอีกวัน เราทุกคนเดินทางจากกรุงเทพฯ...
ความคิดเห็น
ค่ายเปิดโลกเยาวชนจากดอยสู่เล : จุดสตาร์ทที่นำพาเยาวชนชาติพันธุ์เดินทางจากดอยถึงทะเล
23 กุมภาพันธ์ 2566 เรื่อง : ปรัชญา ไชยแก้ว ถ้าให้นึกถึงภูเขาคิดถึงอะไรกัน? อาจจะเป็น ต้นไม้ ลำธาร หรือหมอกหนาพาให้ชุ่มฉ่ำ แล้วถ้าเป็นทะเลล่ะ? หาดทราย คลื่นน้ำที่เข้ามากระทบ ท้องฟ้าแจ่มใส แต่ไม่ว่าภูเขาหรือทะเลจะเป็นยังไงในความคิด ไม่ว่าจะนึกถึงอะไร แต่ในทุกสถานที่ต่างมีผู้คนที่เชื่อมโยงเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศน์ ส่งต่อเป็นวิถีชีวิตที่ผูกพันกันไม่สิ้นสุด “ค่ายเปิดโลกเยาวชนจากดอยสู่เล”...