หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
ท่าขี้เหล็ก
ความคิดเห็น
ภาพเล่าเรื่อง: ท่าขี้เหล็ก เมืองที่เปลี่ยนแปลงไป
เมืองท่าขี้เหล็ก เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในบริเวณชายแดนของรัฐฉาน ประเทศเมียนมา อยู่กับติดกับบริเวณพื้นที่ชายแดนอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การข้ามแดนจะข้ามที่ด่านอำเภอแม่สาย โดยมีสะพานที่ข้าม “แม่น้ำสาย” ที่กั้นระหว่างสองประเทศ ในจุดแบ่งเขตพรมแดน คือ ประตูกลางสะพาน สิ่งแรกที่สามารถเห็นถึงความหลากหลายของกลุ่มคนในพื้นที่ชายแดนแห่งนี้ ในระหว่างทางข้ามแดนสังเกตได้ว่าป้ายโฆษณาโรงแรมทั้งสองข้างทาง ในป้ายโฆษณานั้นจะมีทั้งภาษาเมียนมาและภาษาอังกฤษ เมื่อข้ามมาถึงฝั่งจุดตรวจคนเข้าเมืองเมียนมา จะเห็นได้ชัดว่ามีรถจำนวนมากที่รอตรวจผ่านข้ามแดนทั้งขาเข้า และขาออก รวมไปถึงผู้คนที่เดินข้ามฝั่งกันไปมา ทั้งการข้ามมาซื้อขายสินค้าและข้ามมาของกลุ่มคนฝั่งไทยที่ข้ามมาทำงาน การข้ามแดนมาซื้อขายสินค้าฝั่งนี้ และเป็นจุดแวะสำคัญของนักท่องเที่ยว...
ความคิดเห็น
‘ท่าขี้เหล็ก’ เมืองที่เปลี่ยนแปลงไป
เมืองท่าขี้เหล็กและคนกลุ่มต่าง ๆ ก่อนการมาของจีนใหม่ เมืองชายแดนท่าขี้เหล็ก มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดกำเนิดเกิดขึ้นจากการอพยพโยกย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนหลากหลายกลุ่ม นับตั้งแต่ขยายอำนาจของบรรดาเจ้านครรัฐในยุคก่อนอาณานิคม จนถึงยุคของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงในยุคของสงครามกลางเมืองในประเทศจีน ด้วยเหตุที่เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ชายแดนที่มีการอพยพไปมาของผู้คน ทำให้ประชากรของเมืองทั้งสองฟากฝั่งนั้นล้วนเป็นผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ เช่น ชาวไทย (คนเมือง) ไท อาข่า...
ความคิดเห็น
อาทิตย์อัสดงตรงฝั่งแม่สาย อรุณรุ่งตะวันฉายในท่าขี้เหล็ก : เท็กซัสลุ่มน้ำแม่สาย มุมไบขนาดย่อส่วน
เรื่อง: ธนพงษ์ หมื่นแสน “….ฟากฟ้ายามเย็นเห็นแสงรำไรอาทิตย์จะลับโลกไปพระจันทร์จะโผล่ขึ้นมาหมู่มวลวิหคเหินลมอยู่กลางเวหาจะหลับคืนสู่ชายคาชายป่าคือแหล่งพักพิง.…” ผู้เขียนมุ่งใช้ข้อความสี่บรรทัดนี้ ทำหน้าที่แทน “ตัวอักษรที่มีเสียง” ซึ่งใครหลายคนคงพอที่จะฮึมฮำร่ำร้องได้ในใจหรือสามารถเปล่งคำและความออกมาเป็นเสียงที่แสนไพเราะเสนาะโสต แม้เนื้อความของบทเพลง “แม่สาย” ได้เคยขยายและยังคงฉายภาพถึงเรื่องราวชีวิตของเด็กหญิงสาวที่ถูกพรากจากหมู่บ้านฐานถิ่นเพื่อเดินทางไกลไปเป็นเสมือนดั่งเช่นนกน้อยที่รอคอยวัน “กลับมาแค่ทันพระสวด” ทว่าความเจ็บปวดรวดร้าวของเนื้อหาในบทเพลงๆ นี้ ก็คงจะถูกแทนที่ด้วยพรรณนาโวหารที่เตะใจต้องอารมณ์ความรู้สึกของผู้คนทั่วไปอยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งห้วงเวลาที่ผู้เขียนกำลังตกอยู่ในอารมณ์และห้วงเวลาแห่งการดื่มด่ำร่ำรสคราฟต์เบียร์พื้นถิ่นยี่ห้อหนึ่งอยู่ตรงคาเฟ่ริมฟุตบาท ณ ฝั่งตรงข้ามปากทางขึ้นวัดพระธาตุดอยเวาอันเป็นพื้นที่ชุมทางแหล่งการค้าของผู้คนในท้องที่ของเมืองแม่สาย ถัดจากโค้งคุ้งชุมทางแหล่งการค้าแถบที่ว่านี้เลยไปอีกนิด...