คำสำคัญ: ท้องถิ่น

เทศบาลคืออะไร ทำอะไรบ้าง

การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ส.ท.) และนายกเทศมนตรี หรือการเลือกตั้งเทศบาลที่จะเกิดในวันที่ 11 พฤษภาคม 2568 เป็นอีกหนึ่งหมุดหมายสำคัญของท้องถิ่นไทย เทศบาลนั้นเป็น อปท. ที่มีระดับย่อยและใกล้ชิดกับประชาชนมากกว่า อปท. ใหญ่ๆ อย่าง อบจ. เนื่องจากมีพื้นที่ความรับผิดชอบขนาดเล็กลงมา ทำให้การดูแลด้านไฟฟ้า...

[ชุดข้อมูล] เปิดรายชื่อ ส.อบจ. 17 จังหวัดภาคเหนือ

สนามเลือกตั้ง นายก อบจ. 2568 ถือเป็นการเลือกตั้งท้องถิ่นที่ร้อนแรงมากครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ เสมือนเวทีชิมลางเลือกตั้ง สส. ที่จะเกิดในปี 2570 อย่างไรก็ตามยังคงมีสนามการเลือกตั้งอีกสนามที่แข่งขันควบคู่นายก อบจ. นั่นคือ “การเลือกตั้ง ส.อบจ.” ซึ่งผู้สมัครบางคนก็ลงสมัครในนามพรรคแดงหรือพรรคส้ม บ้างสมัครในนามอิสระ หรือบางคนมิได้ประกาศว่าลงสมัครส่วนตัวมิได้สังกัดกลุ่มใด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด...

ก่อสร้าง-การเมือง: ท้องถิ่นที่ซับซ้อน บนพื้นที่ที่ซ้อนทับ ในการเมืองอุทัยธานี

เรื่อง: กองบรรณาธิการ ชาดา ไทยเศรษฐ์ นักการเมืองมากบารมีจากจังหวัดอุทัยธานี ด้วยประวัติอันโชกโชนพร้อมกับภาพลักษณ์การเป็นนักเลงการเมือง ทำให้สื่อหลายสำนักตั้งฉายาให้เขาว่า “เจ้าพ่อแห่งลุ่มน้ำสะแกรัง” อย่างไรก็ตาม เบื้องหลังชาดาและการเมืองท้องถิ่นอุทัยธานียังมี “อดุลย์ เหลืองบริบูรณ์” ผู้คอยประคับประครองการเมืองท้องถิ่นอุทัยธานีอยู่  ชาดา และ อดุลย์  ร่วมกันก่อตั้ง “กลุ่มคุณธรรม” ซึ่งเป็นกลุ่มการเมืองที่เข้มแข็งที่สุดในจังหวัดอุทัยธานี...

ปัญหาคืออุดมการณ์หรือการเข้าถึงประชาชน? เปิดมุมมองทำไมเลือกตั้ง อบจ. พรรคประชาชน ส่ง 17 คน ได้แค่ 1 ที่นั่ง

การเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งล่าสุดที่ผ่านมาถือเป็นการเลือกตั้งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการแสดงท่าทีของพรรคประชาชน ซึ่งส่งผู้สมัครถึง 17 คน แต่สามารถชนะได้เพียง 1 ที่นั่งในตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ลำพูน สร้างความน่าสนใจและคำถามต่อกลยุทธ์การเลือกตั้งของพรรค ดร.วีระ หวังสัจจะโชค อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ให้สัมภาษณ์กับ...

วิเคราะห์สนามท้องถิ่นหลังเลือกตั้ง อบจ. 68 เกมจบ คนไม่จบ

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว ภาพ: วีรภัทร เหลาเกิ้มหุ่ง หลังจากการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมาทั้งหมด 47 จังหวัด ซึ่งหากก่อนหน้านี้มีการเลือกตั้งนายก อบจ. ก่อนวาระเหตุการลาออกก่อนวาระของเหล่านายก อบจ. ไปแล้วทั้งหมด 29 จังหวัด...

เศรษฐกิจเพชรบูรณ์เมื่อทริปน้ำไม่อาบมาเยือน  ‘หน่วยงานท้องถิ่น’ อยู่ตรงไหนในทริปนี้? 

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย “รวมตัวกันขี่มอเตอร์ไซค์เป็นหมื่นๆ คน บอกจะไปทำบุญไปกระตุ้นเศรษฐกิจ สุดท้ายรวมเงินทำบุญได้ 4 แสนนิดๆ วันหลังโอนเงินไปให้วัดเถอะไม่ต้องขี่มา รำคาญ!!!” ข้อความข้างต้นคือคอมเม้นท์จากผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่งได้กล่าวถึง ‘ทริปน้ำไม่อาบ’  ที่มาเยือนจังหวัดเพชรบูรณ์เมื่อวันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา และเป็นทริปท่องเที่ยวที่จัดมายาวนานต่อเนื่องกว่า...

ล้านนา World: ความหวังของคนท้องถิ่นในแม่ฮ่องสอน

เรื่อง: ภู เชียงดาว  Summary ผลสำรวจของเอแบคโพลล์ปี พ.ศ.2556 ชี้ว่าจังหวัดที่มีความสุขที่สุดในประเทศไทยคือ “แม่ฮ่องสอน” เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ยังอุดมสมบูรณ์ วิถีชีวิตของชาวบ้านที่เรียบง่าย และความปลอดภัยในทรัพย์สิน โดยจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นอีกหนึ่งจังหวัดทางภาคเหนือที่มีความโดดเด่น ทั้งเรื่องสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม รวมถึงประชากรที่มาจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ทำให้จังหวัดแม่ฮ่องสอนอุดมไปด้วยเสน่ห์ที่ใครๆ ก็อยากเดินทางไปสัมผัส ช่วงปี 2546-2565 เป็นต้นมา...

“ดนตรีพาเรามาเจอกัน” คุยกับ ตูน-พนมกร พันธุ์ชนะ แห่ง All Area กับ ‘เชียงใหญ่เฟส’ เทศกาลดนตรีที่อาสาต่อเติมฝันให้คนเหนือ

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม / ภาพ: สุทธิกานต์ วงศ์ไชย 5 ปีเต็มแล้วที่ ‘เชียงใหญ่เฟส’ มาเสิร์ฟความม่วนให้กับชาวเหนือ ให้จังหวะหัวใจถูกเติมเต็มไปด้วยเสียงเพลง ต้อนรับลมหนาว ท่ามกลางภูเขา และดนตรีจากหลายศิลปินที่มาร่วมสร้างบรรยากาศของความสนุกไปด้วยกัน และในครั้งนี้ ‘เชียงใหญ่เฟส 5’...

เมื่อจีนภิวัฒน์ในเชียงใหม่: ความกลัว ความท้าทาย และโอกาสของท้องถิ่น

เรื่อง: The Glocal - ท้องถิ่นเคลื่อนโลก Summary เชียงใหม่กลายเป็นปลายทางสำคัญของนักท่องเที่ยว ผู้อพยพ และการลงทุนจากจีน โดยมีปัจจัยดึงดูดหลายประการ เช่น ค่าครองชีพต่ำ สภาพแวดล้อมที่ดี และนโยบายที่เอื้อต่อการลงทุนและพำนักระยะยาว การลงทุนของจีนในเชียงใหม่ขยายตัวอย่างรวดเร็วในหลายภาคส่วน โดยเฉพาะอสังหาริมทรัพย์ การท่องเที่ยว และการเกษตร ส่งผลให้เกิดการแข่งขันกับธุรกิจท้องถิ่นและความกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เกิดอคติและความกลัวต่อ "ทุนจีน"...

เปิดเหตุผลทำไม 9 นายก อบจ. ภาคเหนือ ลาออกก่อนหมดวาระ

ตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ) ที่ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2563 จะมีการครบวาระในการดำรงตำแหน่งในวันที่ 19 ธันวาคม 2567 หากมาดูที่ตัวเลขของ นายก อบจ.ที่ลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระทั้งหมด 27 คน โดยในพื้นที่ภาคเหนือมีนายก อบจ....

ผู้ว่าราชการจังหวัด ราชการส่วนภูมิภาค ความอีนุงตุงนังกับอำนาจท้องถิ่น

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว กระแสการเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดในประเทศไทยดังขึ้นเป็นครั้งคราว ล่าสุดเมื่อการเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ที่พาเอาชัชชาติ สิทธิพันธ์ ขึ้นสู่ตำแหน่งก็กลายเป็นกระแสอีกครั้ง ประชาชนในหลายจังหวัดก็อยากจะมี “ชัชชาติ” เป็นของตัวเองบ้าง แต่ตราบใดที่การบริหารของจังหวัดยังอยู่ภายใต้โครงสร้างราชการส่วนภูมิภาค การเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดก็ยังเป็นไปไม่ได้ ราชการส่วนภูมิภาคที่มีหน้าที่รวมไปถึงงบประมาณในการจัดสรรดูแลรวมไปถึงกุมอำนาจไว้ ไม่ให้ผู้นำที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในพื้นที่อย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...

เปิดมุมวิเคราะห์ทำไม ‘มนต์ชัย’ ชนะเลือกตั้งนายก อบจ.พิษณุโลก 3 สมัยซ้อน

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว 18 สิงหาคม 2567 จังหวัดพิษณุโลกได้มีการจัดการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก (อบจ.พิษณุโลก) นายก.อบจ ครั้งนี้ มีประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ทั้งหมด 671,170 คน โดยมีผู้มีสิทธิมาแสดงตนทั้งหมด 361,642 คน มีหน่วยเลือกตั้งจำนวนทั้งสิ้น...

แต่ละสโมสรฟุตบอลภาคเหนือเจ็บน้อยเจ็บมากกันเท่าไหร่แล้วบ้าง

เรื่อง : วิชชากร นวลฝั้น หลังจากกระแสยุติการดำเนินงานและไม่ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลต่อไปของสโมสรฟุตบอลเชียงใหม่ เอฟซี รวมถึงปัญหาการเงินที่ทางสโมสรค้างค่าเหนื่อยนักเตะและเช็คเด้งผู้ผลิตเสื้อครบรอบ 25 ปีของทีม มรสุมปัญหาเหล่านี้ทำเอาแฟนบอลต่างมองว่าหรือนี่อาจเป็นจุดสิ้นสุดของทีม? แต่แล้ว เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2567 Think curve ได้รายงานสถานการณ์ล่าสุดของทีมจากการให้สัมภาษณ์ของ...
slot deposit pulsa slot mahjong