คำสำคัญ: น้ำท่วม

สืบสกุล กิจนุกร เปลี่ยนวิธีคิด ก้าวข้ามกับดักเขตแดนรัฐชาติและกระจายอำนาจ ปัญหา #น้ำท่วมเชียงราย

เรื่อง: ปุณญาพร รักเจริญ ถึงแม้สถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ในจังหวัดเชียงรายที่ผ่านมาขณะนี้ได้คลี่คลายลงอย่างต่อเนื่อง ประชาชนและอาสาสมัครเร่งทำความสะอาดฟื้นฟูเมืองหลังน้ำลด ถือได้ว่าเป็นวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดในรอบ 40 ปี และได้สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่ประชาชนทั้งร่างกายและทรัพย์สิน เมื่อวันที่ 18 กันยายนที่ผ่านมา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย DDPM รายงานว่า จังหวัดเชียงราย เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ทั้งหมด 2 อำเภอ...

‘ห้วยหินลาดใน’ คนอยู่ป่า ปัญหาโลกรวน ดินโคลนถล่ม และวาทกรรมที่มีอคติต่อกลุ่มชาติพันธุ์

เรื่อง: องอาจ เดชา “บ้านห้วยหินลาดในที่ฉันรักและรู้จักมายี่สิบกว่าปี  เป็นชุมชนปกาเกอะญอ ที่มีประชากร 114 คน ผู้ดูแลป่าชุมชน 5,889 ไร่ และพื้นที่ทำกิน 1,632 ไร่ ในรูปวนเกษตร อาทิ ชา กาแฟ...

บทเรียนน้ำท่วมเชียงราย-เขื่อนกั้นน้ำโขงภัยธรรมชาติและฝีมือมนุษย์ชี้ระบบเตือนภัยรัฐล้มเหลว

เรื่อง: องอาจ เดชา หลังเกิดน้ำท่วมเชียงรายวิกฤติหนักในรอบหลายสิบปี เมื่อเกิดปรากฎการณ์โลกรวน ทำให้เกิดอิทธิพลพายุถล่มต่อเนื่อง ประกอบกับเมืองขยายตัว ทำให้สิ่งก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นอาคารบ้านเรือน ถนน สะพาน พอฝนตกหนัก ไหลบ่า ทำให้กลายเป็นสิ่งกีดขวางทางน้ำไหล รวมไปถึงกรณีการปล่อยน้ำจากเขื่อนกั้นน้ำโขงตอนบนของจีนลงมา ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่ง ทำให้หลายพื้นที่หลายอำเภอที่ตั้งอยู่ริมน้ำโขง น้ำอิง...

จากน้ำท่วมถึงน้ำลดเชียงราย-เชียงใหม่ ‘เวลา’ สิ่งที่เราสูญเสียและต้องการมากที่สุด 

เรื่อง: กองบรรณาธิการ ความเสียหายจากวิกฤตการณ์อุทกภัยที่ในภาคเหนือที่เกิดขึ้นในช่วงเดือน ก.ย. - ต.ค. 67 สร้างความเสียหายวงกว้างในหลายพื้นที่ โดยจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายเป็น 2 จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้หนักมากที่สุดซึ่งผลกระทบมาถึงปัจจุบัน (7 พ.ย.67) ข้อมูลจากศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ฯ จังหวัดเชียงรายและ ปภ.จังหวัดเชียงใหม่รายงานว่ามีวิกฤตการณ์อุทกภัยในครั้งนี้สร้างความเสียหายต่อประชาชนประมาณ 1 แสนกว่าครัวเรือน...

Lanner ตั้งคำถามถึงประสิทธิภาพการแจ้งเตือนศูนย์เตือนภัยพิบัติฯ ‘ผิดที่ผิดทาง’ หลังเหตุ #น้ำท่วมแม่สาย

ภาพ: Nonny Theeraphorn จากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2567 ที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นวิกฤตหนักที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ได้สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาของระบบเตือนภัยพิบัติในประเทศไทยอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความล่าช้าในการแจ้งเตือนประชาชน จึงทำให้เกิดคำถามถึง ‘การทำงานและประสิทธิภาพของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ’ ที่ถูกมองว่าเป็นการจัดวางหน่วยงานที่ ‘ผิดที่ผิดทาง’ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ: ใครควรเป็นผู้ดูแล? ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ...

น้ำท่วมเชียงราย สถานการณ์ยังไม่นิ่ง ร้องรัฐช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่

13 กันยายน 2567 กิตติ ทิศสกุล ที่ปรึกษานายกสมาคมสหพันธ์ท่องเที่ยวภาคเหนือ ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว เรียกร้องให้จังหวัดเชียงรายเร่งดำเนินการตั้งโต๊ะแถลงการณ์การบริหารจัดการน้ำท่วมและช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบในพื้นที่อย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะผู้ประสบภัยที่ยังติดค้างอยู่ในแต่ละชุมชน การบริหารจัดการเรื่องการแจกอาหารและสิ่งของจำเป็น การประสานงานกับองค์กรภายนอกที่เข้ามาช่วยเหลือ การจัดลำดับความสำคัญของการให้ความช่วยเหลือ การจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการจังหวัดที่ชัดเจน การขอความร่วมมือจากสื่อมวลชนในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การแก้ไขปัญหาการขนส่งข้ามสะพานน้ำกก การวางแผนฟื้นฟูหลังน้ำลด รวมไปถึงแผนสำรองหากฝนตกเพิ่ม ขณะเดียวกัน...

เสียงคนแม่สายถึงวิกฤติ #น้ำท่วมเชียงราย พบปัญหาซับซ้อน ป่าเสื่อมโทรม-ระบบจัดการภัยพิบัติล้มเหลว

Lanner สัมภาษณ์ ธนพงษ์ หมื่นแสน วิเคราะห์สถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ว่า ไม่ได้เกิดจากจากปริมาณน้ำในแม่น้ำสายเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเป็นผลมาจากสืบเนื่องมาจากปัจจัยที่ซับซ้อนหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการรุกล้ำป่าต้นน้ำแม่สายในพื้นที่ฝั่งพม่าเพื่อทำการเกษตรและตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย ส่งผลให้พื้นที่ขาดความสามารถในการรองรับน้ำ เมื่อฝนตกหนัก น้ำป่าจึงไหลหลากลงมาสู่แม่น้ำสายในปริมาณมาก ประกอบกับพายุยางิที่พัดผ่าน ทำให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่ติดต่อกันตลอด 24 ชั่วโมง...

น้ำป่าฉับพลัน ถล่มซัดหน้า ม.พะเยา หนักสุดในรอบหลายปี นิสิตเดือดร้อน-กระทบหอพักในพื้นที่

วันนี้ (17 กันยายน 2567) มีรายงานว่า เมื่อเวลาประมาณ 07.25 น. ที่ผ่านมา เกิดเหตุน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมบริเวณบ้านแม่ก่า หมู่ที่ 16 ตำบลแม่ก่า อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา อย่างรวดเร็ว โดยน้ำป่าได้ทะลักเข้ามายังพื้นที่หน้ามหาวิทยาลัยพะเยา...

ฝนตกหนักซัดลำปาง น้ำท่วมบ้านเรือนเสียหายกว่า 20 หลัง ด้านเขื่อนแม่จางเร่งระบายน้ำแต่ไร้แผนรับมือ

18 กันยายน 2567 มีรายงานว่า เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องยาวนานหลายชั่วโมงตั้งแต่ช่วงเวลาประมาณ 01.30 น. ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในหลายพื้นที่ของตัวเมือง สร้างความเสียหายต่อบ้านเรือนและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมากไม่น้อยกว่า 20 หลังคาเรือน น้ำท่วมฉับพลัน ทำให้ประชาชนในหลายพื้นที่ต้องตื่นขึ้นมากลางดึกเพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะที่ บ้านทุ่งกล้วย ตำบลบ้านเอื้อม...

ภาคเหนือวิกฤต ‘น้ำท่วมลำปาง’ ขยายตัว 2 เขื่อนเร่งระบายน้ำ ‘สุโขทัยพนังกั้นน้ำยมพัง’ น้ำทะลักท่วมชุมชน – ด้านแพร่ พะเยา เฝ้าระวัง

24 ก.ย. 67 ที่ผ่านมา ThaiPBS รายงานว่า สถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ภาคเหนือของไทยยังคงทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะใน จังหวัดลำปาง และ สุโขทัย ซึ่งได้รับผลกระทบจากน้ำที่ไหลทะลักเข้าท่วมในพื้นที่ ความคืบหน้าสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่จังหวัดลำปาง น้ำท่วมยังคงขยายตัวเป็นวงกว้างอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ โดยชาวบ้านบ้านแม่ไฮ ม.3 ต.นาแส่ง อ.เกาะคา...

ภาคเหนือจมบาดาล น้ำท่วมหลายจังหวัด ‘เชียงใหม่-ลำปาง-แพร่-สุโขทัย’ กระทบหลายพื้นที่ ประชาชนเดือดร้อนหนัก

น้ำท่วมเมืองเชียงใหม่ขยายวงกว้าง แม้น้ำปิงเริ่มลด ยังคงท่วมขังหลายพื้นที่ จากการตรวจสอบระดับน้ำแม่น้ำปิงจากศูนย์อุทกวิทยาชลประทานภาคเหนือตอนบน พบว่า 26 ก.ย. 67 เวลา 13.00 ระดับน้ำในแม่น้ำปิงเริ่มลดลงเหลือ 4.72  เมตร หลังจากขึ้นสูงสุดที่ 4.93 เมตร เมื่อคืนที่ผ่านมา เวลา...

ประมวลน้ำท่วม 8 ตุลา เมืองเชียงใหม่เริ่มคลี่คลายแต่ปัญหายังอยู่ สารภี-ลำพูนน้ำยังท่วมสูง ด้าน ศปช.เร่งระบายน้ำ สารภี-ลำพูน เต็มกำลัง

8 ตุลาคม 2567 สถานการณ์น้ำท่วมในตัวเมืองเชียงใหม่เริ่มคลี่คลายเข้าสู่สภาวะปกติ โดยระดับน้ำที่ท่วมขังในพื้นที่ต่าง ๆ ลดลง หลายหน่วยงานกำลังเร่งฟื้นฟูทำความสะอาดบ้านเรือนประชาชน สถานที่ราชการ และสถานที่สาธารณะให้กลับสู่สภาพปกติโดยเร็วที่สุด ส่วนในพื้นที่อำเภอสารภี ซึ่งมักประสบปัญหาน้ำท่วมขังเป็นเวลานานกว่าพื้นที่อื่น โดยเฉพาะในตำบลหนองผึ้งและตำบลสบแม่ข่า อำเภอสารภี ซึ่งการให้ความช่วยเหลือเป็นไปอย่างยากลำบาก ขณะที่ในอำเภอเมืองจังหวัดลำพูน ยังคงมีน้ำท่วมขังสูง 1.00-1.70...

น้ำท่วมเชียงใหม่ ไรเดอร์ทำงานกันยังไง

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว วิดีโอคลิปไรเดอร์กำลังขับขี่มอเตอร์ไซต์ลุยไปบนถนนที่ระดับน้ำท่วมสูงมิดล้อและพยายามประคองรถเพื่อไปส่งอาหาร ในสถานการณ์ที่จังหวัดเชียงใหม่กำลังเผชิญกับวิกฤตน้ำท่วมในหลายอำเภอ เมื่อคลิปนี้ถูกเผยแพร่ออกไป ก็เกิดการแสดงความคิดเห็นว่าไรเดอร์มีความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุได้ทุกเวลาขณะทำงาน และยังทำให้คิดไปถึงสวัสดิการแรงงานในเรื่องต่างๆ ที่เหล่าแรงงานที่มี ‘ท้องถนน’ เป็น ‘โรงงาน’ ควรจะได้รับภายใต้สถานการณ์อุทกภัยที่ความเสี่ยงอยู่ในทุกเส้นทางที่เคลื่อนไป เสียงของแรงงานไรเดอร์ในสถานการณ์น้ำท่วม “ไรเดอร์เป็นอาชีพที่โดดเดี่ยว”  พิเชฐ (สงวนนามสกุล) ไรเดอร์รับส่งลูกค้า แพลตฟอร์ม Bolt และ...

ถอดบทเรียนจากต่างประเทศถึงไทยต่อการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมที่ทันท่วงที

เรื่อง: ผกามาศ ไกรนรา ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่ต้องเผชิญความเสี่ยงจาก ‘ปัญหาอุทกภัย’ อยู่บ่อยครั้ง ทั้งจากน้ำท่วม น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมชายฝั่ง โดยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 9 ของประเทศซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วมสูงที่สุดในโลก ตามดัชนี INFORM Risk Index ปี...

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: ชักแม่น้ำทั้งสายให้ไหลลงสู่น้ำแม่โขง : ว่าด้วยเรื่องทิศทางการไหลของน้ำในลุ่มน้ำแม่กก

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง ความนำ “น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ”  ข้อความนี้สะท้อนกฎธรรมชาติว่าด้วยการไหลของน้ำที่เป็นไปตามแรงโน้มถ่วงของโลก ขณะเดียวกัน การไหลของน้ำตามแหล่งธรรมชาติอย่างลำธาร คลองหรือแม่น้ำก็เป็นอีกรูปแบบ ทิศทางและลักษณะของการไหลไปยังพื้นที่ต่าง ๆ อย่างมีความแตกต่างกัน  เงื่อนไขที่มีส่วนในการกำหนดการไหลของน้ำจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านภูมิประเทศของพื้นที่หรือถิ่นที่ต่าง ๆ อย่างเช่น สันปันน้ำ ความลาดเอียงของพื้นที่ ลักษณะหรือชนิดของดินในพื้นที่หรืออาณาบริเวณซึ่งได้รับอิทธิพลจากลักษณะการไหลของสายน้ำในแต่ละแห่งเรียกว่า “ลุ่มน้ำ” โดยชื่อของลุ่มน้ำต่าง...

งบน้ำท่วมภาคเหนือ: 500 ล้านรับมือน้ำท่วมภาคเหนือ 2567 มาจากไหน จัดสรรยังไง แต่ละจังหวัดได้เท่าไหร่?

ในปีงบประมาณ 2567 รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณจำนวนมหาศาลกว่า 500 ล้านบาท ในการป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัยน้ำท่วมในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อรองรับสถานการณ์ในช่วงฤดูฝน ซึ่งคิดเป็นกว่า 7% ของงบประมาณกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเพื่อดำเนินโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในช่วงฤดูฝน ปี 2567 และการกักเก็บน้ำเพื่อฤดูแล้ง ปี 2567/2568 แต่เงินจำนวนมหาศาลนี้จะสามารถแก้ปัญหาภัยน้ำท่วมได้จริงหรือ? นับเป็นคำถามที่น่าสนใจ...

ถึงเวลาประชาชนดูแลกันเอง รวมความช่วยเหลือน้ำท่วมภาคเหนือ

สถานการณ์น้ำท่วมที่เกิดขึ้นหลายจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน โดยเฉพาะในพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดน่าน และจังหวัดแพร่ Lanner จึงขอรวบรวมศูนย์ให้ความช่วยเหลือในพื้นที่  ขอบคุณข้อมูลบางส่วนจากสำนักสื่อองศาเหนือและ localsthaipbs โดยประชาชนสามารถติดต่อขอรับความช่วยเหลือ หรือใครต้องการส่งความช่วยเหลือสามารถติดต่อไปที่ช่องทางพิกัดดังกล่าว - มูลนิธิไทยพีบีเอส จับมือสมาพันธ์พนักงานไทยพีบีเอส เปิดพื้นที่ประสานความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (น้ำท่วม) และสามารถติดต่อแจ้งความต้องการของชาวบ้านในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบ ติดต่อประสานงาน มูลนิธิไทยพีบีเอส โทร....

คนเมืองเชียงใหม่ค้านโครงการป้องกันน้ำท่วมของกรมโยธาฯ ย้ำปัญหาน้ำท่วมต้องมีส่วนร่วมของประชาชน

15 สิงหาคม 2567 เวลา 09.00 น. ได้มีเวทีประชาพิจารณ์ระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำหลัก ในพื้นที่ชุมชนเมืองเชียงใหม่ ทั้งหมด 3 พื้นที่ ได้แก่ 1.บริเวณชุมชนหนองหอย บริเวณสะพานเม็งรายอนุสรณ์ (ก่อสร้างคันป้องกันน้ำท่วมริมตลิ่งน้ำปิง) 2.บริเวณถนนเจริญราษฎร์ (ก่อสร้างคันป้องกันน้ำท่วม...

น้ำท่วมภาคเหนือ: เปิดปัญหาน้ำท่วมภาคเหนือ พบหน่วยงานซ้ำซ้อนกว่า 38 หน่วยงาน 

เรื่อง: ผกามาศ ไกรนรา 'น้ำท่วม’ ถือเป็นหนึ่งในภัยพิบัติซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้งในหลายพื้นที่ อันมีสาเหตุมาจากทั้งการเกิดขึ้นตามธรรมชาติและผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งได้สร้างความหายต่อทั้งชีวิต ทรัพย์สิน ตลอดจนวิถีชีวิตของผู้คนอย่างมหาศาล ทั้งนี้ จากเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่จังหวัดภาคเหนือในช่วงที่ผ่านมา อาทิ เหตุการณ์น้ำท่วมวังโป่งเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2567 หรือเหตุการณ์น้ำท่วมตลาดริมเมย...

[ชุดข้อมูล] คาดการณ์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยภาคเหนือ กรกฎาคม-ธันวาคม 2567

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สสน.) เปิดเผยผลการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ปี 2567 ใน 17 จังหวัดภาคเหนือ ในช่วงระหว่างเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ปี 2567  Lanner เปิดข้อมูลผลการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ปี...

เขื่อนปากมูลกับน้ำท่วม

เรื่อง: กวีรพัชร์ เบ็ญจรูญ/ Louder เขื่อนปากมูลยังเป็นหัวข้อถกเถียงหลักของคนอุบลราชธานี หลังจากกรณีน้ำท่วมใหญ่ในปี 2565 ที่ผ่านมา นอกจากปริมาณน้ำที่มาจากน้ำท่วมทั่วอีสานแล้ว ยังมีข้อสังเกตเรื่องระดับน้ำโขงในช่วงน้ำท่วมใหญ่ว่าต่ำกว่าระดับน้ำมูล แต่ความล่าช้าของการเปิดประตูเขื่อนปากมูลก็ส่งผลต่อการระบายน้ำให้ท่วมอุบลราชธานีนานกว่าทุกปี “ทุบทิ้งเลยค่ะ” เสียงความโกรธแค้นจาก ‘สมปอง เวียงจันทร์’ แกนนำกลุ่มสมัชชาคนจนผู้ที่คัดค้านการสร้างเขื่อนปากมูล นอกจากสมปองแล้วยังมีอีกหลาย ๆ ความคิดเห็นที่มองว่าการมีอยู่ของเขื่อนปากมูลมันเป็นปัญหานอกจากชาวบ้านชุมชนแม่น้ำมูลในแถวนั้นนักวิชาการที่ทำวิจัยเกี่ยวกับเขื่อนปากมูลก็ยังมองว่าการสร้างเขื่อนปากมูลมันส่งผลเสียมากกว่าผลดี บ้างก็บอกว่าเป็นการสร้างเขื่อนที่ปิดทางผ่านน้ำจนนำไปสู่การเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในปีพ.ศ....