หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
ประวัติศาสตร์
ศิลปะ-ศิลปิน
ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์ ครูและมิตรรักชาวไท(ย) จากพ่อใหญ่คายส์บ้านหนองตื่นในอีสานสู่สนามแม่สะเรียงและเชียงใหม่
เรื่อง : ป.ละม้ายสัน สนามอยู่ที่ไหน? เป็นคำถามที่สำคัญข้อหนึ่งของนักมานุษยวิทยาในการศึกษาคนอื่นหรือแม้กระทั่งศึกษาตนเอง จนมีหนังสือในประเด็นเกี่ยวกับการสะท้อนย้อนคิดในสนามของนักมานุษยวิทยาเป็นจำนวนมากทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การเขียนถึงสนามในโลกภาษาไทยก็มีอยู่จำนวนหนึ่งอาทิเช่น คนใน : ประสบการณ์ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย อีกเล่มที่น่าสนใจไม่แพ้กันก็คือหนังสือรวมบทความการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาในปี 2566 ที่สะท้อนย้อนคิดเกี่ยวกับตนเองในการเข้าไปทำวิจัยภาคสนามเรื่อง ชีวิตภาคสนาม : Life Ethnographically! หนังสือสองเล่มนี้มีจุดร่วมกันอย่างหนึ่งคือ นักมานุษยวิทยาที่เข้าไปในภาคสนามเพื่อทำการวิจัยนั้นไม่สามารถแยกขาดกับตัวตนของเราได้...
คนล้านนา
ประติมากรรมยักษ์วัดอุโมงค์ กับคำถาม “อำนาจ” ใน “หลักวิชาการอนุรักษ์” ที่ยังฉงนคำตอบ ?
“ยืนยันว่าการบูรณะเป็นไปตามหลักวิชาการ” คำตอบเช่นนี้ได้ยินเสมอจากหน่วยงานราชการที่มีหน้าที่ดูแลแหล่งมรดกวัฒนธรรม ปรากฏการณ์สำคัญในวงการศิลปวัฒนธรรมเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในดินแดนเชียงใหม่ เมื่อเกิดกรณีการบูรณะประติมากรรมยักษ์จำนวน 2 ตนภายในวัดอุโมงค์ ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและสถานที่ท่องเที่ยวที่ทุกคนต่างรู้จักกันอย่างดี เหตุการณ์ดังกล่าวมีจุดเริ่มต้นจากเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2567 ผศ.ดร. สุรชัย จงจิตงาม อาจารย์คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ออกมาร้องเรียนถึงประเด็นที่เกิดขึ้น เมื่อพบว่าประติมากรรมยักษ์ภายในวัดอุโมงค์ ซึ่งเป็นศิลปกรรมที่อายุเก่าแก่และมีคุณค่าทางวัฒนธรรม ...
ข่าว
‘เพ็ญสุภา’ ตั้งข้อสงสัยพบ ‘พระพุทธรูปริมโขง’ เสนอจับมือค้นคว้าอย่างจริงจัง
จากกรณีที่มีการค้นพบพระพุทธรูปขนาดใหญ่และวัตถุโบราณหลายชิ้น บริเวณเกาะกลางดอนผึ้งคำ เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว ฝั่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตรงข้าม อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคมที่ผ่านมา ล่าสุดวันที่ 20 พฤษภาคม 2567 ดร.เพ็ญสุภา สุขคตะ...
คนล้านนา
รถไฟรางคู่ผ่าน ‘แพร่’ เจอวัดร้างและสังคมก่อนมีเครื่องเสียง ‘ฆ้อง’ มีไว้ทำอะไร
ปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมาบริเวณหมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งกวาว อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ขณะที่คนงานกำลังขับรถแทรกเตอร์ไถปรับผืนดิน ก่อนลงเสาตอม่อขนาดใหญ่เพื่อรองรับเส้นทางรถไฟรางคู่จากสถานีเด่นชัย จังหวัดแพร่ไปยังจังหวัดเชียงราย พบอิฐจำนวนมากที่เคยอยู่ใต้ดิน ชิ้นส่วนโบราณวัตถุทั้งอิฐมีจารึกตัวอักษรโบราณ พระพิมพ์ เศษภาชนะดินเผา เศษเครื่องเคลือบเซรามิก และฆ้องสำริด คาดเคยเป็นวัดโบราณที่มีชื่ออยู่ในบัญชีของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ชื่อว่า ‘วัดป่าสูง’ ในหน้าเพจ...
ความคิดเห็น
อยู่-ระหว่าง-เหนือล่าง : เหนือล่างกับประวัติศาสตร์การเคลื่อนย้าย
ภูมิภาคเหนือตอนล่างคือพื้นที่ระหว่างภาคกลาง (กล่าวโดยนัยคือกรุงเทพฯ) กับภาคเหนือ ภายใต้ประพัฒนาการของรัฐไทยที่เริ่มต้นในช่วงรัชการที่ 5 มาจนถึงตอนนี้ ภูมิภาคเหนือตอนล่างถูกละเลยไปจากการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไปจนหาความต่อเนื่องได้ยาก เหตุจากภูมิภาคนี้มีลักษณะความเป็นกึ่งกลางระหว่างความไทยกับความเป็นอื่น หากพิจารณาความเป็นกึ่งกลางของภูมิภาคเหนือล่างเราอาจเห็นร่องรอยของประวัติศาสตร์ รวมถึงร่องรอยความเป็นไปของชีวิตผู้คนบนพื้นที่นี้ ผมจึงอยากพาทุกคนไปสำรวจความน่าสนใจนี้อย่างคร่าวผ่านงานเขียนชิ้นนี้ โดยหวังให้เกิดข้อถกเถียงที่กว้างไกลกว่าบทความที่ผู้เขียนจะเขียนต่อไปนี้ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร...
ความคิดเห็น
จันเสนก่อนตาคลี เมืองโบราณที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก?
บริเวณภาคเหนือตอนล่างหรือกลางตอนบนในปัจจุบันมีแหล่งโบราณคดีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกถึง 4) แห่ง ได้แก่ 1) อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย 2) อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย 3) อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรและที่ล่าสุด 4) อุทยานประวัติศาสตร์เมืองศรีเทพ นอกเหนือไปกว่านั้นยังมีเมืองโบราณคดีในพื้นที่นี้อีกหลายแห่งที่ไม่ค่อยได้รับการพูดถึงอย่างกว้างขวางนัก อาทิเช่น อุทยานเมืองเก่าพิจิตร เมืองโบราณเวสาลี ที่ตั้งอยู่ที่ตำบลสำโรงชัย อำเภอไพศาลี...
คนล้านนา
แม่แจ่มที่เพิ่งสร้าง: การเผยตัวของชุมชนแม่แจ่มในฐานะชุมชนทางวัฒนธรรม
บทนำ มรดกทางการเมืองหลังสงครามเย็น นอกจากแม่แจ่มจะเป็นพื้นที่สีชมพูในการจัดการของรัฐไทยต่อขบวนการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยแล้ว ยังเป็นพื้นที่ที่รัฐไทยเข้ามามีอำนาจในการจัดการทรัพยากรในแม่แจ่มด้วย ไม่ว่าจะเป็นโครงการพัฒนาลุ่มน้ำแม่แจ่ม การส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจโดยโครงการของรัฐ การขยายระบบสาธารณูปโภคและเปิดโอกาสให้ระบอบทุนเข้ามามีบทบาทในการจัดการทรัพยากรด้วย ในห้วงเวลาใกล้เคียงกันคือราวปลายทศวรรษ 2530 ภายใต้บริบทวาระครบรอบเชียงใหม่ 700 ปี ภาคประชาสังคมในเชียงใหม่จึงหยิบยืมชุดความคิดเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นมาผสานกับกระแสโลกาภิวัตน์หลังวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 หรือเป็นที่รู้จักกันในเครือข่ายสืบสานล้านนา จนกระทั่งก่อตั้งโฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนาขึ้น ภายใต้กิจกรรมภูมิปัญญาล้านนาของเครือข่ายโฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา กลุ่มนักพัฒนาเอกชนที่สนใจด้านภูมิปัญญาจัดกิจกรรม...
ความคิดเห็น
ความหมายของพระพุทธชินราชในประวัติศาสตร์ไทย
ความสวยงามของพระพุทธรูปที่ขึ้นชื่อว่างดงามที่สุดในประเทศไทยคือพระพุทธชินราช ตั้งอยู่ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด พิษณุโลก การนำเสนอภาพของพระพุทธชินราชในช่วงเวลาต่างๆ มิได้นำเสนอภาพของความงดงามเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ภาพการอธิบายเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์นี้มีความหมายที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา ความหมายของพระพุทธชินราชช่วงแรกปรากฏในพงศาวดารเหนือ สันนิษฐานว่าเขียนในรัชกาลที่ 1 ซึ่งเป็นการเขียนในแบบจารีต กล่าวคือเล่าเรื่องภายใต้พระบารมีของกษัตริย์คือพระยาจักรพรรดิราชเป็นผู้สร้างพระองค์นี้ ความเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่อมาคือคำอธิบายพระพุทธชินราชภายใต้รัฐแบบใหม่ กล่าวคือการอธิบายภายใต้แนวคิดจักรวาลวิทยาแบบไตรภูมิใช้ไม่ได้อีกแล้ว แต่ต้องอธิบายภายใต้ขอบเขตอำนาจรัฐของสยามที่มีพรมแดนแผนที่ชัดเจน ฉะนั้น การอธิบายทำนองนี้ต้องมีความรู้ทางประวัติศาสตร์ที่เป็นจริง...
เจาะประเด็น
น้ำมนต์ ศรัทธา และ การพัฒนาวัดศรีมฤคทายวัน ต.ธรรมเสน อ.โพธาราม จ.ราชบุรี กรณีศึกษา พระครูสังฆรักษ์ อุทัย ปภงฺกโร
Lanner เปิดพื้นที่ให้ทุกคนที่อยากสื่อสาร โดยความคิดเห็นไม่จำเป็นต้องเหมือนกองบรรณาธิการ สามารถส่งมาได้ที่ lanner.editor@gmail.com เรื่อง: แก้วกัลยา ชมพระแก้ว ,ปวีณา บุหร่า บทนำ บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาน้ำมนต์ และความศรัทธาต่อน้ำมนต์ของวัดศรีมฤคทายวัน ต.ธรรมเสน อ.โพธาราม จ.ราชบุรี ของพระครูสังฆรักษ์ อุทัย ปภงฺกโร จนนำไปสู่การพัฒนาวัดหรือท้องถิ่น เพื่อเป็นการทำความเข้าใจถึงคนที่มีความศรัทธาต่อน้ำมนต์...
เจาะประเด็น
วิถีชีวิตชุมชนลาวเวียงจันทน์ ผ่านภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดบ้านฆ้อง ตำบลบ้านฆ้อง อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
Lanner เปิดพื้นที่ให้ทุกคนที่อยากสื่อสาร โดยความคิดเห็นไม่จำเป็นต้องเหมือนกองบรรณาธิการ สามารถส่งมาได้ที่ lanner.editor@gmail.com เรื่อง: ทวิตรา เพ็งวัน,ปวีณา บุหร่า บทนำ บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังศาลาการเปรียญวัดบ้านฆ้อง ตำบลบ้านฆ้อง อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี...
ความคิดเห็น
ประวัติศาสตร์ – สามัญชน – พิพิธภัณฑ์
19 มกราคม 2566 เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2566 ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดเสวนาในหัวข้อ "ประวัติศาสตร์ - สามัญชน - พิพิธภัณฑ์" ณ ห้อง HB7801...