คำสำคัญ: ประวัติศาสตร์ประชาชน

เปิดเหตุผลชำระประวัติศาสตร์เมืองแพร่

จากประเด็น “การชำระประวัติศาสตร์เมืองแพร่” ที่ สมาคมรักษ์เมืองเก่าแพร่ ได้เขียนวิพากษ์เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง “แพร่พันปี” เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคมที่ผ่านมา นั้น อาจเป็นเพียงวาทกรรม เพื่อชี้ให้เห็นว่าข้อมูลที่ผิดฝาผิดตัวของหนังสือเมืองแพร่เมื่อ 1,000 ปีนั้น จนกระทั้งวันที่ 19 พฤษภาคม 2567...

วงเหล้า เล่าเงี้ยว: ประวัติศาสตร์บาดแผลบนพื้นที่ของความหวัง และการต่อต้าน

เรียบเรียง: สุรยุทธ รุ่งเรือง 20 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา MAIIAM Contemporary Art Museum จัดวงเสวนาในชื่อ "วงเหล้า เล่าเงี้ยว" ใจความสำคัญคือการถกประเด็นในเรื่องของ “กบฏเงี้ยวเมืองแพร่  ที่เกิดและจบลงเมื่อ พ.ศ....

121 ปี ปลดพันธนาการกบฏเงี้ยวเมืองแพร่

24 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00 น. เครือข่ายผู้รักประชาธิปไตยแพร่ได้ทำพิธีตานขันข้าว อุทิศส่วนกุศลให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเหตุการณ์กบฏเงี้ยว เมืองแพร่ เนื่องในโอกาสครบ 121 ปี ณ วัดจองกลาง วัดพม่าประจำจังหวัดแพร่  จากการต่อสู้ของชาวเงี้ยว หรือไทใหญ่หรือไทเขิน กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่อาศัยอยู่ในดินแดนล้านนามาหลายร้อยปี...

ภาพชุดกบฎเงี้ยวเมืองแพร่

ความพยายามในการรวมการปกครองเข้าสู่ศูนย์กลางในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้สร้างความขัดแย้งขึ้นกับผู้ปกครองท้องถิ่นเดิม และการสร้างรัฐสมัยใหม่ได้กีดกันคนจำนวนหนึ่งออกไปจึงเกิดความขัดแย้งขึ้นทั่วในสยาม ทั้งกรณีเจ้าแขกเจ็ดหัวเมืองปี 2445 กบฎผีบุญในอีสานปี 2444 และกบฎเงี้ยวในภาคเหนือปี 2445 ไทใหญ่หรือเงี้ยวคือกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่กระจายทั่วไปตามเทือกเขาทางภาคเหนือของไทย ลาว เมียนมา และตอนล่างของจีนในปัจจุบัน พวกเงี้ยวมีความใกล้ชิดกับชาวล้านนามานานหลายร้อยปี เพราะในอดีตไม่มีการแบ่งเขตแดนตามรูปแบบของรัฐสมัยใหม่ ผู้คนจึงสามารถเคลื่อนย้ายถิ่นฐานได้สะดวกโดยไม่สนใจเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่างกันมาโดยตลอด...

“เหมือนไม่เคยจากไปไหน” การเดินทางข้ามเวลาของ ‘ครูองุ่น มาลิก’ 

เรื่องและภาพ : พีรดนย์ กตัญญู ลานโล่งกว้างบวกกับเรือนไม้หลังเล็กใหญ่สลับกัน 3 หลัง ต้นไม้ใหญ่หลายต้นรอบล้อม สวนอัญญา เฮือนครูองุ่น มาลิก : หอประวัติศาสตร์ประชาชนภาคเหนือ ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้างมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใกล้กับประตูไผ่ล้อม ชื่อสวนอัญญามีที่มาจากชื่อของ ‘อัญญาโกณฑัญญะ’ หนึ่งในปัญจวัคคีย์และพระภิกษุองค์แรกในพระพุทธศาสนา หน้าที่สำคัญของสวนอัญญาคือการเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนความคิด...

“นิสิต จิรโสภณ” อดีตผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตั้งคำถามท้าทายความจริง ก่อนการมาถึงของเหตุการณ์ นองเลือด 6 ตุลาคม 2519​

9 มิถุนายน ถือเป็นวันคล้ายวันเกิดของ ‘นิสิต จิรโสภณ’ 1 ในประชาชนที่ต่อสู้เพื่อความจริงและมวลชนอย่างกล้าหาญในยุคแสวงหา เป็นสื่อมวลชนที่กล้าตั้งคำถาม ขับเคลื่อนสังคมในยุคเผด็จการ ก่อนที่จะจบชีวิตอย่างปริศนาจากการตกรถไฟ เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2518 ระหว่างลงไปทำข่าวให้กับหนังสือพิมพ์อธิปัตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในห้วงเวลาขวาพิฆาตซ้าย...

5 เมษายน 2460 ชาตกาล 106 ปี ‘องุ่น มาลิก’ ครูผู้อุทิศตนเพื่อสังคม ผู้ส่งผ่านอุดมการณ์บริสุทธิ์ไม่รู้ลืม

“ครูองุ่นมีความดีที่ครูยึดถือสำคัญอยู่ 4 อย่างคือ ความเมตตา ความเสียสละเพื่อสังคมส่วนรวม เป็นคนที่ปากกับใจตรงกัน และประหยัดกินน้อยใช้น้อย พร้อมกันทั้งนี้ครูยังอุทิศพื้นที่ของสวนครูองุ่น ที่ทองหล่อ กรุงเทพฯ และสวนอัญญา เชียงใหม่ เพื่อรองรับการทำคุณประโยชน์เพื่อสังคม และก่อตั้งมูลนิธิไชยวนาเพื่อสร้างสรรค์สังคมต่อไป ตามแบบที่ครูหวังไว้” ​ สินธุ์สวัสดิ์ ยอดบางเตย กล่าวถึงความดีงามของครูองุ่น...