หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
รถไฟ
highlight
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: เศรษฐกิจในสังคมล้านนาจากสนธิสัญญาเชียงใหม่ถึงการเดินทางมาของรถไฟและก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
ล้านนาเป็นดินแดนที่ถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม แต่เดิมมีสถานะเป็นหัวเมืองประเทศราชมาตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์และถูกรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางในสมัยรัชกาลที่ 5 เพื่อทำการปฏิรูปด้านการเมืองการปกครองโดยเรียกอาณาบริเวณดินแดนล้านนาว่าเป็น “มณฑลพายัพ” ซึ่งมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของพระราชอาณาเขตที่ตั้งอยู่ทางด้านเหนือสุดของของราชอาณาจักรสยามโดยมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเพื่อนบ้านของสยามซึ่งมีสถานะเป็นรัฐอาณานิคมในกำกับของมหาอำนาจชาติตะวันตกในขณะนั้นได้แก่ พม่าในฐานะส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินเดียที่อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ มลายูที่เป็นดินแดนอาณานิคมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษและลาวพืชเป็นดินแดนอาณานิคมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ ลักษณะภูมิประเทศของดินแดนล้านนาส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูงประกอบด้วยเทือกเขาและพื้นที่ว่างระหว่างหุบเขาซึ่งมีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย โดยเทือกเขาที่มีขนาดใหญ่ซึ่งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคได้วางแนวสันปันน้ำแบ่งทิศทางการไหลของแม่น้ำในพื้นที่ออกเป็น 3 ระบบด้วยกัน ได้แก่ ระบบที่ 1 แม่น้ำที่ไหลลงแม่น้ำเจ้าพระยา...
ความคิดเห็น
60 กว่าปีที่รอคอย ขบวนความหวัง รถไฟสายใหม่ เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ คุ้มไหมกับที่หวัง?
“เชียงรายจะมีรถไฟแล้ว” ประโยคขายฝันที่ฉันได้ยินตั้งแต่เด็กจนตอนนี้ใกล้จะเรียนจบมหาวิทยาลัยแล้วก็ยังไม่เคยเห็นรถไฟที่ว่านั้นสักที ด้วยภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ที่ยากลำบากต่อการก่อสร้างและความคุ้มค่าต่อการลงทุน ทำให้เส้นทางรถไฟสายเหนือของไทยสิ้นสุดอยู่เพียงที่ชานชาลาเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน จากทางรถไฟที่เฝ้ารอมาหลายสิบปี ผู้เฒ่าหลายคนล้มหายตายจากไปทั้งที่ยังไม่ได้เห็นแม้ร่องรอย คำบอกเล่าว่าทางรถไฟจะผ่านบ้านเราแล้ว ประโยคดังกล่าวดูเหมือนจะเป็นจริง หลังสถานที่ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางรถไฟทางคู่สายใหม่ เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ เริ่มการก่อสร้าง เปิดที่ดิน พร้อมเกรดปรับพื้นที่โครงการ คู่ขนานกับการเวนคืนที่ดินในขอบเขตโครงการ เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ เส้นทางรถไฟแห่งอนาคต โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ เป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาระบบรางภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย...
ความคิดเห็น
ชุมชนริมทางรถไฟบุญร่มไทร กระจกสะท้อนความเลื่อมล้ำผ่านความเป็นเมือง
ท่ามกลางตึกสูงตั้งตะหง่าน และความวุ่นวายในเมืองหลวง การขยายตัวของเมืองและการพัฒนาเมือง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจมากมาย แต่นั่นก็ตามมาซึ่งปัญหาทางด้านสังคมเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะความเลื่อมล้ำทางรายได้ ความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตที่ดี เมื่อความเป็นเมืองได้พัฒนาอย่างก้าวกระโดด “โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน” จึงเป็นสิ่งที่รัฐพยายามจะพัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่ระดับประเทศ และต้องการไล่รื้อพื้นที่ของประชาชน รวมถึงชุมชนริมทางรถไฟ บุญร่มไทรแห่งนี้ โดยไม่สนถึงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนแม้แต่น้อย...
กาดหมั้ว
คนหาบขาย หายสาบสูญ เสียงจากแม่ค้าหาบเร่ เมื่อการขายของบนรถไฟอาจไม่กลับมาอีกแล้ว
เรื่องและภาพ: วิภาวี จุลสำรวล/ The Isaan Record รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนานักสื่อสารทางสังคม ภายใต้โครงการ Journalism that Builds Bridges เผยแพร่ครั้งแรกทางเว็บไซต์ theisaanrecord.co เมื่อวันที่ 2 มี.ค.2566 แสงอาทิตย์ยามเช้าสาดส่องเข้ามาภายในอาคารสถานีรถไฟจังหวัดขอนแก่น ผู้คนมากมายรายล้อมยืนรอซื้อตั๋วเพื่อไปยังจุดหมายที่แตกต่างของตัวเอง หนึ่งในนั้น...
ความคิดเห็น
ค่ายเปิดโลกเยาวชนจากดอยสู่เล : จุดสตาร์ทที่นำพาเยาวชนชาติพันธุ์เดินทางจากดอยถึงทะเล
23 กุมภาพันธ์ 2566 เรื่อง : ปรัชญา ไชยแก้ว ถ้าให้นึกถึงภูเขาคิดถึงอะไรกัน? อาจจะเป็น ต้นไม้ ลำธาร หรือหมอกหนาพาให้ชุ่มฉ่ำ แล้วถ้าเป็นทะเลล่ะ? หาดทราย คลื่นน้ำที่เข้ามากระทบ ท้องฟ้าแจ่มใส แต่ไม่ว่าภูเขาหรือทะเลจะเป็นยังไงในความคิด ไม่ว่าจะนึกถึงอะไร แต่ในทุกสถานที่ต่างมีผู้คนที่เชื่อมโยงเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศน์ ส่งต่อเป็นวิถีชีวิตที่ผูกพันกันไม่สิ้นสุด “ค่ายเปิดโลกเยาวชนจากดอยสู่เล”...