หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
สยาม
คนล้านนา
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: นโยบายด้านภาษีที่ไม่ลงรอยกับวิถีชีวิตชาวนาสู่การต่อต้านของชาวนาและกบฏพญาผาบ
เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง การปฏิรูประบบราชการแผ่นดินจากดินแดนประเทศราชล้านนามาสู่การปกครองในรูปแบบมณฑลพายัพของรัฐบาลสยาม ดำเนินการผ่านการรวมศูนย์อำนาจและลดทอนอำนาจจากเหล่าบรรดาเจ้านายท้องถิ่นในล้านนาตามขนบของรัฐจารีตแบบดั้งเดิมเพื่อดำเนินการจัดการปกครองตามขนบของรัฐสมัยใหม่เข้ามาแทนที่ โดยมีการปรับเปลี่ยนนโยบายด้านภาษีในรูปแบบใหม่ซึ่งได้มีการปรับปรุงหลายวาระในเรื่องกฎเกณฑ์ ข้อบังคับและพระราชบัญญัติที่ประกาศออกมานับแต่ปี พ.ศ.2427 สิ่งเหล่านี้ได้ก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อผู้คนทั่วไปในสังคมล้านนาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ชาวนา” ที่ต้องมีการปรับตัวเพื่อแบกรับภาระในด้านภาษีที่มีมากเกินกว่ากำลัง สำหรับชนชั้นนำในสังคมล้านนานั้นก็ถือได้ว่ามีสถานะเป็นผู้กอบโกยผลประโยชน์จากแรงงานและและผลผลิตส่วนเกินในรูปของภาษีอากร นั่นจึงเป็นเงื่อนไขสำคัญด้านเศรษฐกิจที่มากำหนดทิศทางของประวัติศาสตร์ในมุมมองแบบซ้าย ๆ ให้ชนชั้นผู้ทำการผลิตอย่างเช่น พวกชาวนาและชนชั้นผู้ปกครองอย่างพวกเจ้านาย กลายมาเป็นเป็นปฏิปักษ์ต่อกันหลายพื้นที่โดยชาวนาได้มีปฏิกิริยาต่อต้านผ่านรูปแบบวิธีการต่าง ๆ...
คนล้านนา
การขยายอำนาจรัฐสยามในอาณาบริเวณล้านนา: กรณีศึกษาการบังคับใช้กฎหมาย การปกครองคณะสงฆ์
ช่วงทศวรรษที่ 2440 นับว่าเป็นช่วงเวลาสำคัญในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยามกับอาณาบริเวณล้านนา เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวเป็นหมุดหมายของการทำความเข้าใจการผนวกรวมหรือยึดเอาล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยามที่เพิ่งก่อตัวขึ้นมา นัยของการศึกษาความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจปรากฏในลักษณะของการศึกษาความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ เครือข่ายความสัมพันธ์ของชนชั้นนำ การศึกษา และการเข้ามาของวิทยาการสมัยใหม่ อย่างไรก็ดี พื้นที่หนึ่งของความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับล้านนาที่มีความน่าสนใจในการศึกษา แต่กลับมีการศึกษาถึงน้อยคือ การศึกษาความสัมพันธ์ในแง่ของกฎหมาย เนื่องจากการผูกขาดอำนาจในการใช้ความรุนแรง (physical violence) เป็นคุณสมบัติสำคัญของชุมชนการเมืองที่เรียกว่ารัฐ (แม็กซ์...
คนล้านนา
125 ปี สยาม – ล้านนา (2442-2567): สยาม-ล้านนา ก่อนจะถึงปี 2442
ปีนี้ 2567 ความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับล้านนามาถึงวาระครบรอบ 125 ปีที่น่าสนใจยิ่งนัก ล้านนาตกเป็นประเทศราชของสยามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2317 ในยุคของพระเจ้าตากสิน และต่อมาถึงยุครัตนโกสินทร์ ผู้ปกครองของล้านนาคือราชวงศ์กาวิละ ได้รับการสถาปนาโดยสยาม ที่ผ่านมา เราไม่ได้เห็นเอกสารที่ศึกษาความพยายามของผู้นำล้านนาที่ใส่ใจในปัญหาสถานะประเทศราชของตน ไม่มีใครคิดถึงประเด็นนั้น หรือเพราะว่าไม่มีหลักฐานใด ๆ...