คำสำคัญ: เชียงใหม่

เปิดเทศกาลศิลปะการแสดงเชียงใหม่ ‘CMPAF’ และ ‘AYTF 2567’ ดันความหมาย ‘สภาพอากาศที่เปลี่ยนไปเราทำอะไรได้บ้าง’

เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09.00 น. ได้มีพิธีเปิดเทศกาลศิลปะการแสดงเชียงใหม่ (CMPAF) และเทศกาลศิลปะการแสดงเยาวชนเอเชีย (AYTF) 2567 ณ โรงละครวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ มีการกล่าวเปิดงานโดย ประภัสสร คอนเมือง...

Lanner Joy “ไฮโฮะเชียงใหม่” ฤดูนี้บ่มีเหงา ดนตรีจะเปลี่ยนเมือง

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “เปลี่ยนหน้าโลว์ให้เป็นไฮ! ด้วยพลังดนตรี” มีอะไรให้ได้ตื่นเต้นอีกแล้วกับ “ไฮโฮะ เชียงใหม่” High HO Chiang Mai เทศกาลดนตรีที่จะทำให้เชียงใหม่ "ไฮ" ตลอด 20 วันเต็มที่โฮะรวมกว่า...

ศิลปินท้องถิ่นอยู่ตรงไหนใน 30 ล้าน กับมหกรรมกระตุ้นการท่องเที่ยวแบบรวมศูนย์

จากกรณีที่เกิดขึ้นที่มีการพูดถึงเป็นวงกว้างในชุมชนดนตรีจังหวัดเชียงใหม่ในประเด็นที่มีการฉกฉวยไอเดียของงาน High HO Chiang Mai เทศกาลดนตรีต้องการให้เชียงใหม่เป็นไฮตลอดทั้งปีโดยมีการพูดถึงงานมหกรรม HOP Chiangmai Art and Music Festival ที่จัดขึ้นโดย ททท.สำนักงานเชียงใหม่ - TAT Chiang...

จากน้ำท่วมถึงน้ำลดเชียงราย-เชียงใหม่ ‘เวลา’ สิ่งที่เราสูญเสียและต้องการมากที่สุด 

เรื่อง: กองบรรณาธิการ ความเสียหายจากวิกฤตการณ์อุทกภัยที่ในภาคเหนือที่เกิดขึ้นในช่วงเดือน ก.ย. - ต.ค. 67 สร้างความเสียหายวงกว้างในหลายพื้นที่ โดยจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายเป็น 2 จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้หนักมากที่สุดซึ่งผลกระทบมาถึงปัจจุบัน (7 พ.ย.67) ข้อมูลจากศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ฯ จังหวัดเชียงรายและ ปภ.จังหวัดเชียงใหม่รายงานว่ามีวิกฤตการณ์อุทกภัยในครั้งนี้สร้างความเสียหายต่อประชาชนประมาณ 1 แสนกว่าครัวเรือน...

รัฐบาลพร้อมไหม เชียงใหม่พร้อมมาก ‘ไพรัช ใหม่ชมภู’ ชวนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ‘เชียงใหม่มหานคร’

เชียงใหม่นับว่าเป็นเมืองที่มีอัตราการเติบโตเร็วไม่แพ้เมืองอุตสาหกรรมในภูมิภาคอื่น ๆ นอกจากนี้เชียงใหม่ยังมีประเพณี วัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของตนเองที่โดดเด่น ซึ่งในบางกรณีนโยบายจากส่วนกลางไม่สามารถแก้ปัญหาและตอบสนองประชาชนได้อย่างทันท่วงที อีกทั้งการกำหนดการพัฒนาจากส่วนกลางยังทำให้ชุมชนอ่อนแอลง เช่น โรงเรียนพูดภาษาไทย ไม่สอนภาษาท้องถิ่น เอาระบบชลประทานมาแทนฝาย กฏหมายการจัดการป่าของกรมป่าไม้ที่ขัดกับวิถีชาวบ้าน เกิดผลกระทบเป็นปัญหาให้ท้องถิ่น ด้วยเหตุนี้เองทำให้ในเช้าของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ....

กลับมาดูอีกครั้ง ‘เซ้งร้านเชียงใหม่’ 1 เดือนเซ้งไป ‘191 ร้าน’ ด้าน ธปท. เผยการบริโภคภาคเอกชน หดตัว -1%

จากกรณี​ที่ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ อดีต สส.เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ได้โพสต์ข้อความลงเฟสบุ๊ค เมื่อวันที่ 18 สิงหาคมที่ผ่านมา ใจความว่าตนได้ไปรับประทานอาหารบริเวณถนนนิมมานเหมินทร์ ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวชื่อดังของจังหวัดเชียงใหม่ แต่ปัจจุบันกลับพบว่าย่านดังกล่าวซบเซาอย่างเห็นได้ชัด เจอห้องว่างและพื้นที่ว่างเป็นจำนวนมาก โดยเร่งให้นายกรัฐมนตรีคนใหม่แก้ปัญหาเศรษฐกิจและเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ตามที่หาเสียงไว้ จากรายงานของ Lanner เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน...

“วันเอกโลก” เพราะว่า “ดนตรี คน เมือง” คือสิ่งที่เอกเป็น

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว 4 สิงหาคม 2566 เอกชัย เทพรักษา หรือ “เอก แซ็กป่า” เดินทางไกลอย่างไม่มีวันหวนกลับมา แต่สิ่งที่ยังคงลอยละล่องอยู่กลางหัวใจของผู้คนยังคงอยู่ ในช่วงชีวิต เอกพร้อมด้วยแซกโซโฟนที่เป็นดั่งกายหยาบชิ้นที่ 33 ต่างหอบหิ้วกันและกันไปในสถานที่ต่าง...

ผู้ใช้ถนนรอบคูเมืองร้อง “ยิ่งทำยิ่งพัง สายไฟหรือคนจะลงดินก่อนกัน” เหตุถนนทรุดตัวหน้ารพ.เชียงใหม่ราม ล่าสุดนำแผ่นเหล็กมาปิดแล้ว

25 กรกฎาคม 2567 ที่ผ่านมามีผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง โพสต์ข้อความพร้อมรูปภาพผ่านกลุ่ม ‘เชียงใหม่108 CM108’ ระบุว่า “หลุมบริเวณหน้า รพ. เชียงใหม่ราม อันตรายมากนะคะไม่มีที่กั้น ถามถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบนะคะ ว่าสายไฟกับคนอะไรจะลงดินก่อนกันคะ?” ต่อมาทีมข่าว Lanner ได้ลงพื้นที่สำรวจพื้นที่บริเวณหลุมดังกล่าว...

เลยมา 3 เดือน ‘สวนสาธารณะตลาดต้นลำไย’ สร้างไม่ทันตามสัญญา งบ 7,477,000 บาท รัฐไร้คำตอบ

23 กรกฎาคม 2567 ทีมข่าว Lanner ได้ลงพื้นที่สำรวจพื้นที่กาดหลวงจังหวัดเชียงใหม่ บริเวณ ‘สวนสาธารณะตลาดต้นลำไย’ พื้นที่ที่มีการผลักดันของประชาชนชาวเชียงใหม่ในช่วงปี 2562-2564 ให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่สาธารณะ จากการสำรวจพื้นที่พบว่าพื้นที่ดังกล่าวกำลังอยู่ในกระบวนการการก่อสร้างและยังไม่แล้วเสร็จ พบป้ายประกาศของเทศบาลนครเชียงใหม่ บริเวณพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างของเทศบาลนครเชียงใหม่ ในนาม ‘โครงการก่อสร้างสวนสุขภาพบริเวณตรงข้ามตลาดดอกไม้...

Lanner Joy : ความฝัน อุดมการณ์ ความรัก ของแอลลี่ เด็กสาวที่เดินทางมา Gap Year บนเส้นทางสายศิลปินที่เชียงใหม่

เรื่องและภาพ: ศุภกานต์ วรินทร์ปราโมทย์ บ่ายวันหนึ่งแถววัดร่ำเปิง เราเดินเข้าไปยังคาเฟ่ริมทางนามว่าสนิมทุน ในอดีตได้ปิดตัวลงช่วยโควิด แต่แล้วก็ถูกชุบชีวิตอีกครั้งผ่านกลุ่มนักกิจกรรม ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมายังเป็นพื้นที่รวมตัวของนักกิจกรรมจากประเทศเพื่อนบ้าน กิจกรรมเสวนา อ่านกวี ศิลปะและดนตรีมากมาย ในวันนี้เราแวะมาที่นี่เพื่อมาหาเพื่อนคนหนึ่ง เราจะพาทุกคนมาพบกับเด็กสาวคนหนึ่งที่เลือกเดินในเส้นทางที่แตกต่าง “แอล” ถลัชนันท์ วงค์ขันธ์ ศิลปินน้องใหม่ของเมืองในนามปากกา Lrie...

เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน เชียงใหม่เป็นเมืองแบบไหนสำหรับคุณ? สำหรับหลายคนแล้ว จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจุดหมายปลายทางในฝัน เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์แห่งล้านนา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยความงดงามทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมา หากมองเผิน ๆ เชียงใหม่น่าจะเป็นจังหวัดที่เหมาะกับการทำธุรกิจ ทว่ามีธุรกิจเพียงหยิบมือเท่านั้นที่สามารถอยู่รอดและเติบโตได้ ธุรกิจในจังหวัดเชียงใหม่หลายแห่ง โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวกับอาหาร การท่องเที่ยวและการบริการ ที่ผุดขึ้นราวดอกเห็ด ต่างปิดตัว...

Lanner Joy: Meltdistrict ‘อำเภอหลอมละลาย’ สตูดิโอหลอมขยะพลาสติกเท่ากองภูเขา ให้เป็นงานดีไซน์ที่ใช้ได้และยั่งยืน

  Meltdistrict ก่อตั้งขึ้นในปี 2564  เป็นทั้งแบรนด์และยังเป็นสตูดิโอที่นำขยะพลาสติกมารีไซเคิล 100% แล้วหลอมเป็นแผ่นวัสดุสำหรับงานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ อินทีเรียดีไซน์ และของใช้ในครัวเรือน แต่กว่าจะที่ได้มาซึ่งแผ่นวัสดุลายสวย ๆ แบบที่เห็น จำต้องผ่านกระบวนการคิดและทดลองที่ไม่ง่ายเลย เรามีโอกาสเยี่ยมชมโรงงานและสตูดิโอของ Meltdistrict ซึ่งแผ่นวัสดุรีไซเคิลที่พวกเขาทำขึ้นใหม่ ถูกนำไปออกแบบให้แบรนด์สินค้าไลฟ์สไตล์ ร้านอาหาร และคาเฟ่หลายแห่งทั้งในกรุงเทพฯและเชียงใหม่...

Lanner JOY : DEN Souvenir ร้านขาย Zine และของที่ระลึกซิ่ง ๆ กับการเป็นที่รู้จักในระดับโลก  

ในมหาสมุทรแห่งคอนเทนต์และโซเชียลมีเดีย ทำให้เราเกิดคำถามว่า สื่อสิ่งพิมพ์ตายแล้วจริงหรือ? คงใช่และไม่สำหรับใครบางคน แต่สำหรับ “จง - กิติวัฒน์ มัทนพันธ์” ผู้ก่อตั้งร้าน DEN กับการขาย Zine ในเชียงใหม่มาแล้วกว่า 6 ปี จึงทำให้เราคิดว่าสิ่งพิมพ์คงไม่มีวันตาย...

My Hometown Project เล่นในบ้านทัวร์ในบ้าน แบบ View From The Bus Tour ที่กำลังจะบอกว่ากระจายอำนาจเป็นเรื่องสำคัญ

“สิ่งที่ผมหวังว่าจะเกิดขึ้นจากการจุดชนวนโปรเจคนี้คือ (1) นำเสนอโมเดลการเดินสายโชว์ดนตรีออริจินัลในเชียงใหม่ สู่ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ให้กับนิเวศดนตรี ไม่ว่าจะในมุมของ music venues (มาตรฐาน), เจ้าของธุรกิจ, นายทุน, ศิลปิน, และผู้ฟัง (2) ผลักดันประเด็นเรื่อง soft...

เชียงใหม่ เมือง Digital Nomad เผ่าพันธุ์ร่อนเร่ในยุคดิจิทัล

เมื่อไม่ได้อยู่ในที่ทำงาน แล้วจะทำงานได้หรือไม่? ถ้าเป็นเมื่อก่อนเราอาจจะต้องคิดหนัก แต่ในโลกที่ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไป ปัจจัยเรื่อง ‘สถานที่’ ก็ไม่ใช่ปัญหาหลักในการทำงานอีกต่อไป ‘ทุกที่’ สามารถเป็น ‘ที่ทำงาน’ เพียงแค่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่ดีและอุปกรณ์ที่ครบครัน ไม่ว่าจะอยู่บ้าน อยู่ทะเล อยู่ร้านกาแฟ หรืออยู่ที่ไหนก็ทำงานได้ เรามักจะเห็นผู้คนนั่งทำงานพร้อมกับแล็ปท็อปตามสถานที่ต่าง ๆ เป็นภาพที่ชินตา กลุ่มคนทำงานส่วนใหญ่ในปัจจุบันมีความสนใจในรูปแบบการใช้ชีวิตและการทำงานใหม่...

แม่แจ่มที่เพิ่งสร้าง: การเผยตัวของชุมชนแม่แจ่มในฐานะชุมชนทางวัฒนธรรม

บทนำ มรดกทางการเมืองหลังสงครามเย็น นอกจากแม่แจ่มจะเป็นพื้นที่สีชมพูในการจัดการของรัฐไทยต่อขบวนการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยแล้ว ยังเป็นพื้นที่ที่รัฐไทยเข้ามามีอำนาจในการจัดการทรัพยากรในแม่แจ่มด้วย ไม่ว่าจะเป็นโครงการพัฒนาลุ่มน้ำแม่แจ่ม การส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจโดยโครงการของรัฐ การขยายระบบสาธารณูปโภคและเปิดโอกาสให้ระบอบทุนเข้ามามีบทบาทในการจัดการทรัพยากรด้วย ในห้วงเวลาใกล้เคียงกันคือราวปลายทศวรรษ 2530 ภายใต้บริบทวาระครบรอบเชียงใหม่ 700 ปี ภาคประชาสังคมในเชียงใหม่จึงหยิบยืมชุดความคิดเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นมาผสานกับกระแสโลกาภิวัตน์หลังวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 หรือเป็นที่รู้จักกันในเครือข่ายสืบสานล้านนา จนกระทั่งก่อตั้งโฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนาขึ้น ภายใต้กิจกรรมภูมิปัญญาล้านนาของเครือข่ายโฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา กลุ่มนักพัฒนาเอกชนที่สนใจด้านภูมิปัญญาจัดกิจกรรม...

‘วาระเชียงใหม่’ ภาคประชาชน เปิดข้อเสนอกำหนดทิศทาง ร่วมพัฒนาเชียงใหม่

เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2567 กลุ่มคนรักเชียงใหม่ทั้งภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และประชาชนชาวเชียงใหม่ ต่างรวมตัวกันเพื่อยื่นข้อเสนอและประกาศเจตจำนงของตนเองในเวที “ประกาศวาระเชียงใหม่ (Chiangmai Agenda)”  ขึ้น สถานที่จัดกิจกรรมคือ ลานด้านหน้าพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่นล้านนา (ศาลแขวงเดิม) ตรงข้ามอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ภายในงานเริ่มต้นตั้งแต่เวลา...

ประวัติศาสตร์สังคมพหุวัฒนธรรมของผู้คนในพื้นที่เมืองและชานเมืองเชียงใหม่: หม้อหลอมรวมใบใหญ่ในกระแสธารทุนนิยม การพัฒนาเมืองและผู้คนที่หลากหลาย

ความนำ “เชียงใหม่” ดินแดนที่ใครๆ ต่างก็มีความฝันใฝ่อยากใคร่มาอยู่เหย้า เมืองที่มีรากเหง้าและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่สืบต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน ในอดีตเชียงใหม่เคยมีฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรม การค้าในภาคพื้นทวีป ทั้งยังมีความมั่นคงทางการเมืองซึ่งมีฐานะเป็นรัฐอิสระที่สร้างและแผ่ขยายชุมชนทางการเมืองในราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมาอย่างแข็งขัน (โดยเฉพาะช่วงรัฐจารีตยุคราชวงศ์มังราย) พญามังรายปฐมกษัตริย์ของเมืองแห่งนี้ได้เลือกชัยภูมิที่มีความเหมาะสมอันเป็นอาณาบริเวณใกล้เคียงอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มระหว่างเทือกเขาผีปันน้ำอยู่ด้านทิศตะวันออกและเทือกเขาถนนธงชัยอยู่ด้านทิศตะวันตกโดยมีแม่น้ำแม่ปิง (รวมทั้งแม่น้ำสาขา ได้แก่ น้ำแม่แตงและน้ำแม่กวง) เงื่อนไขและปัจจัยทางภูมิศาสตร์ดังกล่าวจึงมีความสำคัญต่อการสร้างระบบชลประทานแบบเหมืองฝายที่หล่อเลี้ยงสังคมเกษตรกรรมเพื่อการยังชีพในพื้นที่ที่เรียกว่าแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน และพื้นที่ใกล้เคียงอาณาบริเวณแถบนี้มาอย่างยาวนาน (รัตนาพร...

Amazing All Season ผุดไอเดียดันเชียงใหม่ เป็นเมืองใช้ชีวิตได้ทั้งปี

10 มกราคม 2567 iChiangmai, วีรพงศ์ ฤทธิ์รอด รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่, นายดิษทัต ปันยารชุน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ปตท.น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) หรือ OR, นางพัศลินทร์...

“เจ้าดารารัศมี” เจ้าหญิงผู้สร้างสรรค์แห่งล้านนา สู่มรดกทางวัฒนธรรม

เรื่อง: ธันยชนก อินทะรังษี 20 กันยายน 2566 มีเสวนาในหัวข้อที่ชื่อว่า “เจ้าหญิงผู้สร้างสรรค์แห่งล้านนา สู่มรดกทางวัฒนธรรม” จัดขึ้นโดย มูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ ซึ่งแบ่งหัวข้อการเสวนา ดังนี้ 1.พระกรณียกิจสู่ทุนวัฒนธรรม โดย ผศ.ดร.ภักดีกุล รัตนา 2.การรับรู้วัฒนธรรมล้านนาของสังคมไทย โดย อาจารย์ทรงสุข...

ชั่วโมงทำงานเยอะ ค่าแรงถูก ตลกร้ายเชียงใหม่ ร้านอาหารรับสมัครพนักงานทำงาน 12 ชั่วโมง

จากกรณีที่สมาชิกในกลุ่ม “ลูกช้าง มช.” ได้โพสต์ประกาศรับสมัครงาน ร้านอาหารไทย โดยข้อความระบุว่า ตามหาน้องที่สนใจร่วมทีมงานร้านอาหารไทย ที่จะมีลูกค้าเยอะมาก ๆ , ร้านอยู่ใกล้กาดสวนแก้ว, ร้านอาหารไม่ขายแอลกอฺฮอล์, ค่าแรงเริ่มต้นเดือนละ 12,000 บาท, มีอาหารอร่อยเลี้ยงวันละ 2...

เชียงใหม่เมืองไม่มีอนาคต

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เรียนจบแล้ว จะไปทำงานที่ไหน” “อยากทำงานอยู่เชียงใหม่ แต่คงอยู่ไม่ได้…” บทสนทนาของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังขึ้นข้างหู ทำให้ฉันตั้งคำถามขึ้นมาว่าทำไมมหาวิทยาลัยที่ผลิตนักศึกษาบัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานปีละหลายหมื่นคน แต่ผู้จบการศึกษาจำนวนมากถึงเลือกที่จะไม่อยู่ทำงานในจังหวัดเชียงใหม่ แม้กระทั่งตัวฉันที่กำลังเรียนอยู่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก็อาจจะต้องจำใจแบกกระเป๋าเข้าเมืองกรุง เพื่อโอกาสด้านหน้าที่การงานในอนาคต  แล้วเมื่อไหร่ความเจริญจะเลิกกระจุกอยู่แค่ที่กรุงเทพ ? เชียงใหม่ ถือเป็นเมืองแห่งมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่ได้รับความนิยมจากนักศึกษาทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ ปัจจุบันในเมืองเชียงใหม่มีมหาวิทยาลัยมากถึง 10 แห่ง...

จาก ศรีเชียงใหม่ ถึง คนเมือง: สื่อหนังสือพิมพ์กับความคิดท้องถิ่นนิยมล้านนายุคแรกเริ่ม

เรื่อง: พริษฐ์ ชิวารักษ์ หากปัจจุบันนี้ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) มีทรงอิทธิพลต่อความคิดความอ่านของสังคมอย่างไร สื่อสิ่งพิมพ์โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ก็เคยทรงอิทธิพลต่อความคิดความอ่านของสังคมอย่างนั้นในโลกอดีตก่อนการผงาดขึ้นของอินเตอร์เน็ตและการเผยแพร่ภาพและเสียง ในโลกยุคนั้น หนังสือพิมพ์มิได้เป็นเพียงสื่อกลางในการรายงานข่าวสารที่เกิดขึ้นรายวันเท่านั้น แต่ยังเป็นช่องทางนำเสนอแนวคิดหรือข้อคิดเห็นต่อประเด็นต่าง ๆ ในสังคม อีกทั้งการเลือกประเด็นข่าวมานำเสนอของนักหนังสือพิมพ์ก็ยังมีส่วนชี้นำความสนใจของคนหมู่มากไปทางใดทางหนึ่งได้ด้วย จึงปรากฏในประวัติศาสตร์โลกหลายครั้งว่าในการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวหรือการปฏิวัติของมวลชนนั้นมักมีนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์เข้ามามีส่วนร่วมด้วยอยู่เสมอในฐานะผู้สื่อสารความคิดแก่มวลชน นอกจากนี้ ในขบวนการเคลื่อนไหวเรียกร้องเชิงท้องถิ่นนิยมที่เรียกร้องการรักษาอัตลักษณ์รวมถึงสิทธิประโยชน์ต่าง...

“หิ้วกระเป๋าเข้ากรุง หรือทำเพลงอยู่บ้านเกิด” เส้นทางของนักดนตรีต่างจังหวัดที่อาจไม่โรแมนติก

เรื่องและภาพ: พีรดนย์ กตัญญู เชื่อกันว่าในวัยเด็กของใครหลายๆ คน ต้องมีอย่างน้อยหนึ่งอาชีพที่เป็นอาชีพในฝัน ไม่ว่าจะเป็นอาชีพหมอที่ดูแลรักษาคนไข้ อาชีพครูที่สอนหนังสือให้กับนักเรียน อาชีพทหารที่ถือปืนป้องกันประเทศ แต่อาชีพในฝันของใครบางคนก็อาจจะเป็นอาชีพที่ใช้ความสามารถพิเศษในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งอาชีพ “นักดนตรี” ก็เป็นหนึ่งในนั้น อาชีพนักดนตรีเป็นอาชีพที่อยู่คู่กับสังคมไทยมานานและมีบทบาทต่อทุกชนชั้นในสังคม ไม่ว่าจะเป็นวงดุริยางค์ที่มีบทบาทในการบรรเลงเพลงราชพิธี หรือแม้กระทั่งวงดนตรีท้องถิ่นที่คนท้องที่สามารถหาฟังได้ง่าย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า อาชีพนักดนตรีก็เป็นอาชีพที่คลุกคลีกับผู้คนในสังคมอย่างไม่ขาดสาย “ดนตรีพวกนี้มันอยู่กับเรามาตั้งแต่เกิดจนตาย ลองคิดดูว่าเกิดมาเราก็ร้องเพลง...

นักกิจกรรม-นักศึกษาเชียงใหม่ ทุบ’ศาล’ สาดศิลปะ ก่อนรับทราบข้อกล่าวหาหมิ่นศาล

22 พ.ค. 2566 22 พฤษภาคม 2566 กลุ่มนักกิจกรรมและนักศึกษาจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 6 คน ได้เดินทางรับทราบข้อกล่าวหา “ร่วมกันดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาหรือพิพากษาคดี” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 198 หลังจากถูกสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญกล่าวหาดำเนินคดี เวลา 10.00 น....

CGM48 เปิดตัวซิงเกิ้ล 2565 ชูท่องเที่ยวเชียงใหม่ในมุมที่ต่างออกไป

​​26 ธันวาคม 2565 24 ธันวาคม 2565 วง CGM 48 จัดงานเปิดตัวซิงเกิลหลักที่ 5 ของวง ในชื่อ CGM48 5th Single “2565” First...

ความกลัวลึก ๆ ของ ‘คน(เมือง)เจียงใหม่’ ต่อชาว ‘ไทใหญ่’

เรื่อง: Dada Journalism บทความว่าด้วยความกลัวลึก ๆ ของ “คนเมือง” หรือ “คนเชียงใหม่พื้นถิ่น” ต่อ “ชาวไทใหญ่” ที่ถือว่าได้เป็นฟันเฟืองหลักของระบบเศรษฐกิจในพื้นที่ไปแล้ว เนื่องด้วยคนพื้นถิ่นเองก็อาจจะมองว่าตนเองอยู่ในภาวะที่ถดถอยในหลาย ๆ ด้าน ในขณะที่ชาวไทใหญ่น่าจะมีอนาคตที่สดใสรออยู่ จากคุณลักษณะพิเศษที่คนเมืองมองว่าชาวไทใหญ่มีเหนือกว่าพวกเขาคือ...