คำสำคัญ: เลือกตั้งท้องถิ่น

เลือกตั้งนายกเล็กพิษณุโลก จากสนามปิดสู่สนามเปิด บ้านใหญ่เจอศึกรอบด้าน

เรื่อง: กองบรรณาธิการ การเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครพิษณุโลกที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม 2568 ไม่ได้เป็นเพียงการเลือกผู้นำท้องถิ่นครั้งใหม่ แต่ยังถูกจับตามองว่าอาจเป็น "จุดเปลี่ยน" สำคัญของโครงสร้างการเมืองเทศบาลนครพิษณุโลกที่เคยถูกครอบงำโดยกลุ่มลูกนเรศวรมายาวนานกว่า 30 ปี ภายใต้การนำของ ดร.เปรมฤดี ชามพูนท นายกเทศมนตรีหญิงที่ดำรงตำแหน่งต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2538 ที่การเลือกตั้งเทศบาลนครพิษณุโลกที่ผ่านมาแทบจะไม่เคยเกิดความพลิกผัน...

เปิดผลการเลือกตั้ง ส.อบจ. 17 จังหวัดภาคเหนือ แน่ใจหรือว่าพรรคการเมืองคุมท้องถิ่นได้?

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย สนามเลือกตั้ง นายก อบจ. 2568 ถือเป็นการเลือกตั้งท้องถิ่นที่ร้อนแรงมากครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ เสมือนเวทีชิมลางเลือกตั้ง สส. ที่จะเกิดในปี 2570 อย่างไรก็ตามยังคงมีสนามการเลือกตั้งอีกสนามที่แข่งขันควบคู่นายก อบจ. นั่นคือ “การเลือกตั้ง ส.อบจ.” ซึ่งผู้สมัครบางคนก็ลงสมัครในนามพรรคแดงหรือพรรคส้ม...

นับถอยหลังเลือกตั้งอบจ. 68 ย้อนรอยการเมืองท้องถิ่น 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน 2547-2563

เรื่อง: ปิยชัย นาคอ่อน การเลือกตั้งท้องถิ่นที่จะถึงในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 นี้เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.) จำนวน 47 จังหวัด และ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) จำนวน 76...

มัดรวม 30 ข้อควรรู้ อบจ. ทำอะไรได้บ้าง

ปี 2568 นี้ ประเทศไทยกำลังจะมีการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งสำคัญ โดยในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 จะมีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.) พร้อมกับสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) ซึ่งถือเป็นการเลือกตั้งผู้บริหารและฝ่ายนิติบัญญัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยจะมีการเลือกตั้งนายก อบจ. ใน...

เปิดเหตุผลทำไม 9 นายก อบจ. ภาคเหนือ ลาออกก่อนหมดวาระ

ตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ) ที่ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2563 จะมีการครบวาระในการดำรงตำแหน่งในวันที่ 19 ธันวาคม 2567 หากมาดูที่ตัวเลขของ นายก อบจ.ที่ลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระทั้งหมด 27 คน โดยในพื้นที่ภาคเหนือมีนายก อบจ....

เปิด 5 เหตุผล ทำไมเราควรจับตามองการเลือกตั้งซ่อมพิษณุโลก เขต 1

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย หลังการยุบพรรคก้าวไกลเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา​ ส่งผล​ให้นายปดิพัทธ์ สันติภาดา หนึ่งในกรรมการบริหารพรรคก้าวไกลและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เขต 1 ต้องถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง จึงเป็นเหตุให้ต้องมีการเลือกตั้งซ่อมขึ้นเพื่อหา สส. พิษณุโลก เขต 1 ​เสียใหม่ การเลือกตั้งซ่อมจะจัดขึ้น​ในวันอาทิตย์ที่ 15​ กันยายน​นี้​...

เลือกตั้ง นายก อบจ. อุทัยธานี; เผด็จ นุ้ยปรี คนดี….คนเดิมของ “พี่” หรือของ “ใคร?” 

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จังหวัดอุทัยธานี ที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 6 ตุลาคมนี้ หลังนายเผด็จ นุ้ยปรี ประกาศลาออกจากตำแหน่งเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา พร้อมกับมีคำบอกเล่าจากคนใกล้ชิดว่า “เผด็จจะไม่กลับมาลงสมัครในสมัยถัดไปแล้ว” หลังจากดำรงตำแหน่งนายก อบจ. อุทัยธานีมานานกว่า 4...

เปิดมุมวิเคราะห์ทำไม ‘มนต์ชัย’ ชนะเลือกตั้งนายก อบจ.พิษณุโลก 3 สมัยซ้อน

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว 18 สิงหาคม 2567 จังหวัดพิษณุโลกได้มีการจัดการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก (อบจ.พิษณุโลก) นายก.อบจ ครั้งนี้ มีประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ทั้งหมด 671,170 คน โดยมีผู้มีสิทธิมาแสดงตนทั้งหมด 361,642 คน มีหน่วยเลือกตั้งจำนวนทั้งสิ้น...

“สภาพลเมือง” จากผู้ชมข้างสนามสู่ผู้เล่นตัวจริงในสนามกระจายอำนาจ

เรื่อง: กิตติโบ้ พันธภาค หากประชาธิปไตยเปรียบเสมือน “เส้นขอบฟ้า” การพยายามค้นหา “เครื่องมือ” เพื่อมุ่งไปหามันจึงเป็นที่สิ่งสำคัญ ทว่าบางเครื่องมืออาจทำให้เราจินตนาการไปว่ามันพาได้เราไปถึงจุดหมายแล้ว แต่ไม่เลย มันอาจเพียงแค่พาเราขยับเข้าใกล้เส้นขอบฟ้าเท่านั้น ซึ่งยังไม่ถึงเป้าหมาย และเรายังสามารถไปไกลได้มากกว่านี้  ระบบรัฐสภาหรือการเลือกตั้งก็เช่นกัน มันเป็นเพียงหนึ่งในหลายเครื่องมือที่พาสังคมขยับเข้าใกล้ประชาธิปไตย แต่ไม่ใช่เครื่องมือสุดท้ายที่จะพาเราไปถึงเป้าหมายอย่างสังคมประชาธิปไตยหรือเส้นขอบฟ้า ‘Lanner’ ชวนทำความรู้จักอีกหนึ่งเครื่องมือที่จะพาสังคมขยับเข้าใกล้ประชาธิปไตยมากขึ้น นั่นคือ “สภาประชาชน”...

The voters ชวนเข้าชื่อ 5 หมื่นชื่อ แก้ร่างรัฐธรรมนูญกระจายอำนาจท้องถิ่น

15 กุมภาพันธ์ 2566 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 The Voters ชวนเข้าชื่อ 5 หมื่นรายชื่อตามกฏหมายกำหนด เพื่อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญหมวด 14 มาตรา 249 - 254...

ความหวัง เลือกตั้งท้องถิ่นไทย

เรื่องและภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี, ภัทรภร ผ่องอำไพ  การเลือกตั้งท้องถิ่นควรมาจากเจตจำนงในการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ หาควรมาจากอำนาจรัฐรวมศูนย์ไร้ซึ่งความเข้าใจถิ่นตนไม่  ถึงแม้ว่าการเลือกตั้งท้องถิ่นจะมีอุปสรรคอยู่หลายปัจจัย แต่ยังเชื่อว่ายังมีความหวังที่เปรียบเสมือนคลื่นลูกใหญ่ เป็นแรงขับเคลื่อนเข้ามาเปลี่ยนแปลงอนาคต และทิศทางการเลือกตั้งท้องถิ่นอย่างมีเสถียรภาพดังนั้น “ตัวแปร ที่จะเป็นจุดเปลี่ยน กำหนดผลการเลือกตั้งท้องถิ่นจึงเป็น คนรุ่นใหม่” ความหวังที่จะนำพาคนหนุ่มสาวไกลบ้านได้กลับมาเลือกตั้งถิ่นตน ถ้อยคำดังกล่าว ถูกเอ่ยขึ้นมาขณะที่ผู้เขียนกำลังสัมภาษณ์...
slot deposit pulsa slot mahjong