หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
แม่น้ำโขง
กาดหมั้ว
เครื่องมือหาปลาที่กำลังจะหายไปในวิถีพรานปลา
สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จากโครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ปีที่ 2 : ชายแดนศึกษากับการเรียนรู้บนฐานชุมชนสู่การสร้างสังคมสร้างสรรค์ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ (Ab-SIRC) สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง บ้านห้วยลึกอยู่ที่ไหน ? ชุมชนสุดท้ายริมฝั่งแม่น้ำโขงในภาคเหนือของประเทศไทย ก่อนที่แม่น้ำโขงจะไหลเข้าสู่ประเทศลาว...
กาดหมั้ว
เรียนรู้วิถีแม่ญิง…ฮิมน้ำของ วิถีชีวิตแม่ญิงท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงในแม่น้ำโขง?
งานชิ้นนี้เป็นผลงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สำนักวิชานวัตกรรมสังคม สาขาการพัฒนาระหว่างประเทศ จากโครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ปีที่ 2 : ชายแดนศึกษากับการเรียนรู้บนฐานชุมชนสู่การสร้างสังคมสร้างสรรค์ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ (Ab-SIRC) สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พามาดูวิถีชีวิตแม่ญิงริมน้ำโขงเมื่อต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในช่วงหลาย 10 ปีที่ผ่านมา แม่น้ำโขงเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนในบ้านห้วยลึกมาอย่างยาวนาน...
กาดหมั้ว
จากวิถีฮิมโขง… สู่ความ (ไม่) มั่นคงในวิถีเกษตร
งานชิ้นนี้เป็นผลงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สำนักวิชานวัตกรรมสังคม สาขาการพัฒนาระหว่างประเทศ จากโครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ปีที่ 2 : ชายแดนศึกษากับการเรียนรู้บนฐานชุมชนสู่การสร้างสังคมสร้างสรรค์ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ (Ab-SIRC) สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง "จะมีอะไรการันตีได้ว่า "วิถีเกษตร" เป็นความมั่นคง ที่ชาวบ้านตามหาอยู่อย่างแท้จริง" จากอาชีพเสริม กลายมาเป็นอาชีพหลัก:...
ความคิดเห็น
กระทบข้ามพรมแดน ฝั่งน้ำโขง สายน้ำใกล้ไร้ชีวิต
‘แม่น้ำโขง’ สายน้ำสำคัญที่พาดผ่านหลายประเทศในทวีปเอเชีย มีต้นกำเนิดจากธารน้ำแข็งและหิมะบริเวณที่ราบสูงธิเบตบนเทือกเขาหิมาลัย ผ่าน จีน เมียนมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ก่อนไหลลงสู่ทะเลจีนใต้ ทอดยาวกว่า 4,909 กิโลเมตร และมีความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพสูงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เป็นสายธารแห่งชีวิตที่คอยหล่อเลี้ยงผู้คนในลุ่มน้ำเส้นนี้มาหลายชั่วอายุคน ผู้คนสองฝากฝั่งต่างไปมาหาสู่ดุจญาติมิตร...
คนล้านนา
ฮ่วมฮอมปอย ฮ้อยฮอยเก่า : เล่าประวัติและพัฒนาการ “เมืองเชียงของ” และ “ผู้คนเมืองแห่งน้ำของ”
เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง แม่น้ำคือชีวิตและมิใช่เป็นเพียงรางน้ำหรือท่อส่งน้ำแต่อย่างใด ทว่าความเห็นแก่ตัวของมนุษย์ส่วนหนึ่งได้มีการตักตวงใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างแม่น้ำเกิดมีขึ้นผ่านรูปแบบของเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า การระเบิดแก่งหินอันเป็นถิ่นพำนักอาศัย การวางไข่หรืออนุบาลของสัตว์น้ำเพื่อการเดินเรือคมนาคมขนส่งสินค้า สิ่งที่กล่าวมานี้ เกิดขึ้นและมีการดำเนินไปอย่างไม่ใยดีธรรมชาติและผู้คนซึ่งการตระหนักรู้ต่อความสำคัญที่มีต่อปัญหาความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและวิถีวัฒนธรรมของผู้คนที่สัมพันธ์อยู่กับลุ่มน้ำของนั้น คือที่มาของขบวนเรือคายัก เรือหางยาวและเรือโดยสารที่ค่อยๆลอยไหลล่องตามลำน้ำของจากบริเวณบ้านห้วยเม็งมาจนถึงบริเวณโฮงเฮียนแม่น้ำของในช่วงโมงยามเช้าราวช่วงสายๆ ของวันหยุดรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566...
ข่าว
ตามรอยวิจัยไทบ้านฮิมชายน้ำของ ปลุกพลังสื่อตรวจสอบสังคม
25 พฤศจิกายน 2566 ณ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดกิจกรรม ตามรอยงานวิจัยไทบ้านเรียนรู้วิถีชุมชนชายแดนฮิมน้ำของ เวลา 09.00 น. โดยมีนักศึกษาจาก 2 สถาบันการศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมได้แก่ สาขาการพัฒนาระหว่างประเทศ สำนักวิชานวัตกรรมสังคม...
ข่าว
ต้นไคร้น้ำ แม่น้ำโขงยืนต้นตาย ผลจากระดับน้ำผันผวนฤดูกาลขึ้นลงผิดปกติ
เรื่อง เกรียงไกร แจ้งสว่าง เจ้าหน้าที่สมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิต ภาพ จีระศักดิ์ อินทะยศ กลุ่มรักษ์เชียงของ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2566 ทางทีมสมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิตได้จัดประชุมกลุ่มย่อยวิจัยไทบ้านเรื่องการเปลี่ยนแปลงของพืชอาหารตามธรรมชาติในระบบนิเวศริมฝั่งแม่น้ำโขง จังหวัดเชียงราย ณ ศาลาลั้งหาปลา บ้านดอนที่ หมู่ที่ 3...