คำสำคัญ: แรงงานข้ามชาติ

แรงงานข้ามชาติในไร่กุหลาบ เบื้องหลังความรักที่ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ

เรื่องและภาพ : ปรัชญา ไชยแก้ว Summary อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นแหล่งปลูกไม้ดอกเพื่อการค้าที่สำคัญ มีพื้นที่ปลูกดอกไม้ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตรประมาณ 1,061 ไร่ เกษตรกร 304 ราย ทั้งในพื้นที่ตำบลโป่งแยงและตำบลเหมืองแก้ว แรงงานส่วนใหญ่ในไร่ดอกกุหลาบเป็นแรงงานข้ามชาติชาวไทใหญ่ มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่เดือนละ 5,000 บาท ทำงานวันละประมาณ...

เปิดวงถกปัญหาแรงงานภาคเหนือ ย้ำแรงงานต้องรวมตัวกัน 

4 เมษายน 2567 ณ โรงแรม อโมร่า ท่าแพ เชียงใหม่ เครือข่ายแรงงานภาคเหนือร่วมกันจัดประชุมใหญ่เครือข่ายแรงงานภาคเหนือประจำปี 2567 เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการทำงานที่ไม่เหมาะสม กฎหมายที่ไม่เป็นธรรม รวมไปถึงการตั้งสหภาพแรงงาน ภายในงานมีการเปิดงานด้วยการนำเสนอประวัติจุดเริ่มต้นเครือข่ายแรงงานภาคเหนือ หลังจากนั้นเข้าสู่การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ปัญหารวมไปถึงความคิดเห็นของแรงงานแต่ละกลุ่ม อาทิ สหภาพแรงงานบาริสต้าเชียงใหม่...

MMN ร้องรัฐปลายทางต้องมีมาตรการช่วยผู้อพยพเมียนมา เหตุถูกบังคับส่งเงิน ภาษีซ้ำซ้อน บังคับเกณฑ์ทหาร

เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2567 เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MMN) ออกแถลงการณ์ หัวข้อ "ผลกระทบจากนโยบายของเมียนมาเกี่ยวกับการบังคับส่งเงิน การเก็บภาษีซ้ำซ้อน และการเกณฑ์ทหารของผู้ย้ายถิ่น" โดยมีข้อเสนอถึงประเทศปลายทางที่ชาวเมียนมาอาศัยปกป้องสิทธิทางด้านการเงิน ภาษี บังคับเกณฑ์ทหารและสถานะทางกฎหมาย โดยมีเนื้อหาในแถลงการณ์ดังนี้ ในฐานะเครือข่ายระดับอนุภูมิภาคขององค์กรภาคประชาสังคม เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MMN)...

สหภาพแรงงานบาริสต้าเชียงใหม่-ก้าวไกล จัดเวที “ทำงาน พักผ่อน ใช้ชีวิต” แลกเปลี่ยนเรื่องราวของคนทำงาน

เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2567 เวลา 17.30 – 20.00 น. สหภาพแรงงานบาริสต้า เชียงใหม่ ร่วมกับพรรคก้าวไกล จัดงานหรือเราต้องทำงานไปจนตาย “ทำงาน พักผ่อน ใช้ชีวิต” และได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรื่องราวของคนทำงาน...

แรงงาน VK GARMENT แม่สอด 136 ชีวิต เดินหน้าขอฎีกา ชี้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ยังคลาดเคลื่อนต่อกฎหมาย

จากกรณีที่ ลูกจ้างแรงงานข้ามชาติจากประเทศพม่า จำนวน 136 คน  โดยความช่วยเหลือด้านกฎหมายของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) และมูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ (MAP FOUDATION) ได้ยื่นฟ้องบริษัทนายจ้าง เจ้าของโรงงานผลิตเสื้อผ้า VK GARMENT อ.แม่สอด จ.ตาก ต่อศาลแรงงานภาค...

All Workers Matter แรงงานไทย-ผู้โยกย้ายถิ่นฐาน ความฝัน ความหวังถึงชีวิตที่ดีและการคุ้มครองในความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียม

เรื่อง: ศิริรุ่ง ศรีสิทธิพิศาลภพ /Activist Journalist จากมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) 18 ธันวาคม วันโยกย้ายถิ่นฐานสากล ‘ถ้าหากแรงงานทุกคนไม่ว่าชาติใดได้รับการดูแลที่ดี คนไทยก็ต้องได้รับการดูแลที่ดีเช่นเดียวกัน’ การโยกย้ายถิ่นฐานเป็นสิทธิเสรีภาพของมนุษยทุกคนที่สามารถเลือกที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตและมีความปลอดภัย องค์การสหประชาชาติ (UN) ได้จัดทำอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติและครอบครัว ค.ศ. 1990 และประกาศให้ทุกวันที่...

‘แรงงานภาคเหนือ’ เดินขบวน-จัดเวทีวันแรงงานย้ายถิ่นฐานสากล ร้องรัฐมุ่งเคารพสิทธิ ไม่เลือกปฏิบัติ​แรงงานข้ามชาติ

17 ธันวาคม 2566 เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ จัดกิจกรรม “แรงงาน = คน : เราทุกคนที่ย้ายถิ่นไม่ใช่คนอื่น” ณ พุทธสถาน จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เวลา 16:00 – 21:15...

“Sex Work” ข้ามชาติในเมืองอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเมืองเชียงใหม่

เรื่องและภาพ: จตุพร สุสวดโม้ “ถ้าหนูมีโอกาสเหมือนคนอื่น หนูจะไม่มีวันละทิ้งการเรียน ละทิ้งความฝัน แต่ชีวิตในพม่ามีแต่ความอดยาก ต้องหนีเข้ามาหางานทำที่นี่” หนึ่งในเหตุผลที่หญิงจากรัฐฉานตอนใต้ตัดสินใจหนีเข้ามาทำงานอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทย “ก่อนโรคโควิดระบาด ทำงานมีรายได้ 4,000-6,000 ต่อวัน บางวันได้หลักหมื่นบาท เดี๋ยวนี้นะ 3 วันยังไม่ได้สักบาท” นิลาหญิงชาวไทยใหญ่พยายามเปรียบเทียบรายได้ในอดีตกับปัจจุบัน แม้สถานการณ์โรคระบาด...

เสียชีวิตในไซต์ก่อสร้าง 3 ปี ไม่ได้รับเงินทดแทน  แรงงานข้ามชาติฟ้องประกันสังคมเชียงใหม่ คกก.กองทุนเงินทดแทน

29 สิงหาคม 2566 เวลา 9.00 – 12.00 น. ที่ ห้องพิจารณาคดีหมายเลข 4 ศาลแรงงานภาค 5 จังหวัดเชียงใหม่ ทนายความมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) ได้เดินทางไปยังศาลแรงงานตามคำฟ้องคดีหมายเลขดำที่ ...

5 มิถุนายน 2566 วันต่อต้านการค้ามนุษย์ HRDF เปิดจดหมาย 4 ฉบับเสียงของแรงงานข้ามชาติ

เรื่อง: ศิริรุ่ง ศรีสิทธิพิศาลภพ ภาพ: วีรวัศ ขำคม HRDF เปิดจดหมาย 4 ฉบับ เสียงของแรงงานข้ามชาติและผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์และบังคับใช้แรงงานบนเรือประมงไทย ซึ่งปัจจุบันองค์กรได้รับเรื่องร้องเรียนประเด็นละเมิดแรงงานประมงปี 2565-66 จำนวน 16 เรื่อง มีผู้เสียหาย จำนวน 82...

ครบรอบ 1 ปี ฟ้อง 5 หน่วยงานรัฐ โครงการ ‘ม. 33 เรารักกัน’ เลือกปฏิบัติต่อแรงงานข้ามชาติโดยไม่เป็นธรรม

เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) ได้แจ้งข่าวครบรอบ 1 ปีที่ตัวแทนผู้ประกันตนแรงงานข้ามชาติยื่นฟ้อง 5 หน่วยงานรัฐ ต่อศาลปกครองกลาง กรณีโครงการของสำนักงานประกันสังคม ‘ม.33 เรารักกัน’ ไม่เยียวยาแรงงานทุกคนที่เป็นผู้ประกันตนในช่วงวิกฤตโรคระบาดโควิด-19...

อาสา’เสริมแรงเรียน’ ชวนลูกหลานแรงงานเรียนรู้สวนสัตว์เชียงใหม่ แนะรัฐต้องจัดการศึกษาที่เท่าเทียม

18 พฤษภาคม 2566 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2566 กลุ่มครูอาสาเสริม-แรง-เรียน ได้จัดกิจกรรมสำรวจธรรมชาติเรียนรู้วิถีชีวิตสัตว์น้อยใหญ่ ตั้งแต่เวลา 08.30-15.00 น. ณ สวนสัตว์เชียงใหม่  กิจกรรมในครั้งนี้เป็นการพาลูกหลานของแรงงานข้ามชาติผู้ที่เป็นฟันเฟืองสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงใหม่ทั้งหมด 3 พื้นที่ได้แก่ ชุมชนมุสลิมช้างคลาน, ท่าแพซอย...

แรงงานชวนถกปัญหา! 6 พรรค พร้อมใจดันนโยบายคุ้มครองไม่เลือกปฏิบัติ

10 พฤษภาคม 2566 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ หอประชุมใหญ่ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) ร่วมกับ ASIAN-AUSTRALIA Counter...

มีก็เหมือนไม่มี โลกใบเล็ก ของเด็กแรงงานข้ามชาติ ที่ไม่ลับแต่คนไม่ค่อยรู้

สวัสดีค่ะ หนูชื่อหมวย เป็นเด็กโยกย้ายถิ่นฐานค่ะ หนูเป็นลูกแรงงานข้ามชาติ เป็นชาติพันธ์ุ เนื่องจากเกิดในครอบครัวที่เป็นแรงงานรับจ้าง หาเช้ากินค่ำ พ่อแม่หย่าร้าง พ่อไปทาง แม่ไปทาง หนูจึงโตมากับป้า ป้าที่ไม่ใช่ญาติพี่น้องและไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆ เพียงแต่ป้าเป็นคนใจดี เห็นเด็กอย่างหนูก็เป็นห่วง ป้าจึงดูแลหนูเรื่อยมา ตอนหนูอยู่กับป้า หนูไม่ได้เรียนหนังสือ...

โรงงานเย็บผ้าถอดสิทธิแรงงานข้ามชาติ บันทึกกรณีตัวอย่างของการละเมิดแรงงานในโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า ในพื้นที่ชายแดน อ.แม่สอด จ.ตาก

เรื่อง: sips tea quietly ย้อนกลับไปเมื่อเดือนสิงหาคม ปี 2563 ลูกจ้างโรงงานเย็บผ้าส่งแบรนด์ดังในต่างประเทศจำนวน 136 คน ถูกเลิกจ้างอย่างกะทันหันในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยไร้ซึ่งการเยียวยา ทำให้ส่งผลกระทบความเป็นอยู่ของลูกจ้างในสถานการณ์นี้อย่างแสนสาหัส นับเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้สิทธิเรียกร้องสิทธิแรงงานผ่านกระบวนการตามกฎหมาย  เมื่อลูกจ้างได้ร่วมกันบอกเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นขณะทำงานจนกระทั่งถูกเลิกจ้างต่อพนักงานตรวจแรงงาน ให้มีการสอบสวนโรงงานดังกล่าว และออกคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยจากการถูกเลิกจ้าง รวมไปถึงค่าตอบแทนการทำงานที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายย้อนหลัง ลูกจ้างทั้ง...

ผีน้อย ดอกจานไม่อาจผลิบานในบ้านเกิด

เรื่อง: กฤติมา คลังมนตรี/ The Isaan Record การเป็น “ผีน้อย” หรือ แรงงานผิดกฎหมายในเกาหลีใต้ ได้ค่าแรงมากกว่าค่าแรงขั้นต่ำในไทยกว่า 5 เท่า จึงทำคนไทยนับแสนคนไปหลบซ่อนตัวทำงานผิดกฎหมายในแปลงเกษตรหรือโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นชาวอีสานหนีความแร้นแค้นในบ้านเกิดไปตายเอาดาบหน้า เสมือนหนึ่งดอกจานที่ไม่อาจบานในหน้าแล้งของอีสาน การเอาชีวิตรอดในฐานะ “ผีน้อย” ในเกาหลีใต้ไม่ใช่เรื่องเล็ก “สา”...

Migrant Working Group เผยผลกระทบของการผ่อนปรนมาตรการต่อแรงงานข้ามชาติของรัฐบาลไทย พร้อมข้อเสนอแนะ

เมื่อต้นปี 2566 เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant Working Group) ด้วยการสนับสนุนจาก Global Labor Justice - International Labor Rights Forum (GLJ-ILRF) และ...

“เราต้องมั่นใจว่าทุกคนไปแล้ว เราถึงจะตามไป” ความฝัน ความหวัง ของฅนไร้สัญชาติ

เรื่องและภาพ : ปาณิสรา วุฒินันท์, พีรดนย์ กตัญญู “เพื่อนบางคนก็บูลลี่คนชาติพันธุ์แล้วเฮฮาหัวเราะกันในวง บางครั้งเราก็หัวเราะไปกับเขา ที่จริงในใจมันก็เจ็บแหละ บอกไม่ถูก” คำพูดติดตลกของ ชาติ-สุชาติ สุริยวงศ์ แม้จะดูเป็นเรื่องปกติไปแล้ว แต่ไม่เลย มันปะปนไปด้วยอคติ แม้จะถูกทำให้กลายเป็นเรื่องแซวกันขำ ๆ ผ่านสื่อผ่านวาทกรรมที่แยกเขาไม่ใช่เรา...

มติ ครม. เห็นชอบขยายเวลาอนุญาตทำงานได้ถึง ก.พ. 68 พร้อมต่อใบอนุญาตออนไลน์ได้ที่ alien13febrenewal.doe.go.th

วันนี้ (22 พฤศจิกายน 2565) สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดเชียงใหม่ จัดงานแถลงข่าวสื่อมวลชนประจำสัปดาห์ ครั้งที่ 8/2566 ณ กาดฉำฉา ชุมชนโหล่งฮิมคาว บ้านมอญ ตำบลสันกลาง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีประเด็นเรื่อง “สำนักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหม่ เปิดบริการต่ออายุใบอนุญาตทำงานของคนข้ามชาติ” จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจังหวัดที่มีการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติในทุกประเภทกิจการเยอะมากที่สุด...

ศาลพิพากษาให้แรงงานข้ามชาติ สามารถเข้าถึงกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างได้ ไม่ต้องคำนึงสถานะทางกฎหมาย

11 พฤศจิกายน 2565 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (Human Rights and Development Foundation) ได้รายงานว่า เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2565 ศาลแรงงานภาค 5 ได้อ่านคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ...

ความกลัวลึก ๆ ของ ‘คน(เมือง)เจียงใหม่’ ต่อชาว ‘ไทใหญ่’

เรื่อง: Dada Journalism บทความว่าด้วยความกลัวลึก ๆ ของ “คนเมือง” หรือ “คนเชียงใหม่พื้นถิ่น” ต่อ “ชาวไทใหญ่” ที่ถือว่าได้เป็นฟันเฟืองหลักของระบบเศรษฐกิจในพื้นที่ไปแล้ว เนื่องด้วยคนพื้นถิ่นเองก็อาจจะมองว่าตนเองอยู่ในภาวะที่ถดถอยในหลาย ๆ ด้าน ในขณะที่ชาวไทใหญ่น่าจะมีอนาคตที่สดใสรออยู่ จากคุณลักษณะพิเศษที่คนเมืองมองว่าชาวไทใหญ่มีเหนือกว่าพวกเขาคือ...