คำสำคัญ: แรงงานสร้างสรรค์

My Hometown Project เล่นในบ้านทัวร์ในบ้าน แบบ View From The Bus Tour ที่กำลังจะบอกว่ากระจายอำนาจเป็นเรื่องสำคัญ

“สิ่งที่ผมหวังว่าจะเกิดขึ้นจากการจุดชนวนโปรเจคนี้คือ (1) นำเสนอโมเดลการเดินสายโชว์ดนตรีออริจินัลในเชียงใหม่ สู่ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ให้กับนิเวศดนตรี ไม่ว่าจะในมุมของ music venues (มาตรฐาน), เจ้าของธุรกิจ, นายทุน, ศิลปิน, และผู้ฟัง (2) ผลักดันประเด็นเรื่อง soft...

พลังนุ่ม ส่งเสียง-หวังเห็นเมืองที่สนับสนุนคนทำงานสร้างสรรค์หน้าใหม่อย่างยั่งยืน

28 ธันวาคม 2566 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม เวลา 17.00 น. กลุ่มพลังนุ่ม หรือ Fluffy Force จัดแสดงนิทรรศการ “ละ【__】ลาน” รุงลัง Gallery ณ...

’พลังนุ่ม‘ ร้องรัฐหนุนคนทำงานสร้างสรรค์หน้าใหม่

เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2566 กลุ่ม ‘พลังนุ่ม’ ได้จัดนิทรรศการย่อส่วน ‘รุงลัง gallery’ โปรเจ็คทดลองที่ใช้พื้นที่กล่องพัสดุเปิดให้นักสร้างสรรค์หน้าใหม่ได้ออกแบบและจัดแสดงผลงานตัวเองในกล่องที่มีพื้นที่จำกัด มีนัยยะในการแสดงออกถึงพื้นที่เชียงใหม่ที่คับแคบ พื้นที่ปล่อยแสงที่เปิดโอกาสให้เข้าถึงมีน้อย หากต้องการแสดงงานต้องใช้ต้นทุนสูงในการแสดงงานสักครั้งหนึ่ง นักสร้างสรรค์มือใหม่ที่ไม่มีต้นทุน นอกจากจะต้องใช้ต้นทุนแรงกาย แรงความคิด ทรัพยากรด้านเวลาและเงิน...

“หิ้วกระเป๋าเข้ากรุง หรือทำเพลงอยู่บ้านเกิด” เส้นทางของนักดนตรีต่างจังหวัดที่อาจไม่โรแมนติก

เรื่องและภาพ: พีรดนย์ กตัญญู เชื่อกันว่าในวัยเด็กของใครหลายๆ คน ต้องมีอย่างน้อยหนึ่งอาชีพที่เป็นอาชีพในฝัน ไม่ว่าจะเป็นอาชีพหมอที่ดูแลรักษาคนไข้ อาชีพครูที่สอนหนังสือให้กับนักเรียน อาชีพทหารที่ถือปืนป้องกันประเทศ แต่อาชีพในฝันของใครบางคนก็อาจจะเป็นอาชีพที่ใช้ความสามารถพิเศษในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งอาชีพ “นักดนตรี” ก็เป็นหนึ่งในนั้น อาชีพนักดนตรีเป็นอาชีพที่อยู่คู่กับสังคมไทยมานานและมีบทบาทต่อทุกชนชั้นในสังคม ไม่ว่าจะเป็นวงดุริยางค์ที่มีบทบาทในการบรรเลงเพลงราชพิธี หรือแม้กระทั่งวงดนตรีท้องถิ่นที่คนท้องที่สามารถหาฟังได้ง่าย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า อาชีพนักดนตรีก็เป็นอาชีพที่คลุกคลีกับผู้คนในสังคมอย่างไม่ขาดสาย “ดนตรีพวกนี้มันอยู่กับเรามาตั้งแต่เกิดจนตาย ลองคิดดูว่าเกิดมาเราก็ร้องเพลง...