หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
ไกลศูนย์กลาง
ความคิดเห็น
ไกลศูนย์กลาง: อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เมืองลิเกที่รัฐแทบไม่เคยเหลียวแล
เรื่อง: ป.ละม้ายสัน จากข่าวเมื่อปี 2563 ท่ามกลางพิษเศรษฐกิจที่เกิดจากโควิด-19 ศิลปินพื้นบ้านทุกแขนงทั่วประเทศต่างไร้งานการแสดง รายงานจากข่าวมติชนออนไลน์เผยว่าการแสดงลิเก ต้องปรับเปลี่ยนมาเป็นการไลฟ์สด เพื่อหล่อเลี้ยงชีวิตของนักแสดงกว่า 500 ชีวิต ใน 45 คณะ ของอำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร จากข่าวก็จะเห็นได้ว่า การแสดง ‘ลิเก’...
ความคิดเห็น
ไกลศูนย์กลาง ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง เพลงลูกทุ่งคำเมืองช่วงนั้นบอกอะไรบ้าง?
จากบทความ เอาแรงเป็นทุน สู้งานเงินเดือนต่ำ ๆ แรงงานอีสานผ่านบทเพลงลูกทุ่มเมื่อทุกวิกฤตเป็นบทเพลง ในเว็บไซต์ The isaan record ที่ผมได้อ่านสร้างความตื่นตาตื่นใจที่ได้เห็นอารมณ์ของผู้คนอยู่ในบทเพลง บทความนี้เขียนถึงบริบทของการเกิดเพลงลูกทุ่งตั้งแต่ช่วงหลังวิกฤตต้มยำกุ้งเมื่อ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา และวิกฤตต่าง ๆ ที่เกิดต่อมาหลังจากนั้น...
ความคิดเห็น
ไกลศูนย์กลาง: กลับไปอ่าน “แก้วหยดเดียว” ของศรีดาวเรือง: การตั้งคำถามต่อการไม่มีสวัสดิการของแรงงานไทยเมื่อครึ่งศตวรรษที่แล้ว
เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมามีวันสำคัญของสามัญชนคนธรรมดาที่น้อยนักจะปรากฏได้ในปฏิทิน นั่นคือวันแรงงานสากล หรือเมย์เดย์ (May Day) ผู้เขียนจึงนึกถึงเรื่องสั้นเรื่องหนึ่งที่ได้ถ่ายทอดชีวิตและน้ำเสียงของแรงงานจากวรรณกรรม แม้ว่าวรรณกรรมชิ้นนี้จะเก่าไปสักหน่อย แต่ก็ยังคงนำพาให้ได้เห็นร่องรอยเคล้าลางบางอย่างที่แช่แข็งและไปไม่ถึงไหนจวบจนปัจจุบัน ในปัจจุบันนี้สิ่งที่เป็นหลักประกันต่อชีวิตของผู้คนโดยเฉพาะเหล่าแรงงานที่แทบไม่มีหลักประกันใด ๆ ในชีวิต นั่นก็คือการตั้งคำถามต่อ ‘สวัสดิการของแรงงาน’ โดยประเด็นนี้มักเป็นเรื่องที่เราพูดคุยอยู่กันอย่างเข้มข้นในปัจจุบัน ผู้เขียนจึงอยากร่วมสนทนากับเขาบ้างผ่านการ “อ่าน” และตีความวรรณกรรมไทยที่มีอายุมากว่า...
คนล้านนา
ไกลศูนย์กลาง: ความอีหลักอีเหลื่อของมโนทัศน์ล้านนาไทยในบทเพลงของ ‘จรัล มโนเพ็ชร’
“เราวิพากษ์คนอื่นโดยหาคู่คัดแย้ง มันง่ายที่จะพูดถึง แต่เราวิพากษ์ตัวเองน้อยเกินไป...” ข้อความข้างบนนี้มาจากปาฐกถาในหัวข้อ “ล้านนาทะลุกรอบอาณานิคม” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ เรืองศรี ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากปาฐกถาในครั้งนี้ ทำให้ผมนึกถึงบุคคลสำคัญท่านหนึ่งที่มีบทบาทในการสร้างอัตลักษณ์ของความเป็นล้านนาผ่านบทเพลงที่เรียกกันติดปากว่าโฟร์คซองคำเมือง จะเป็นใครไปไม่ได้นอกจาก ‘จรัล มโนเพ็ชร’ บทความนี้จึงพยายามวิเคราะห์และตรวจสอบการสร้างอัตลักษณ์ในบทเพลงของเขา...