หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
6 ตุลา
ความคิดเห็น
ก่อน 6 ตุลาฯ: ลัทธิเหมาเจ๋อตุง, ขบวนการนักศึกษาและชัยชนะทางความคิดของ พคท.
เรื่อง: ธิกานต์ ศรีนารา “อุดมการณ์ของ ‘คน 6 ตุลา’ จริงๆ คือ “ประชาชนต้องเป็นใหญ่ในแผ่นดิน” คือความต้องการสถาปนา ‘ระบอบการปกครองใหม่’ ที่แน่ๆ คือ ไม่ใช่ “ประชาธิปไตย” ในความหมายที่เข้าใจกันในปัจจุบัน” สมศักดิ์...
ความคิดเห็น
คนเหนือเดือนตุลา: จุฬา-จารีตก่อน 14 ตุลา และความรู้สึกอยากกลับบ้านหลัง 6 ตุลาของธเนศวร์ เจริญเมือง
เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่าถึงประสบการณ์ส่วนตัวเพื่อทำความเข้าใจที่มาก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เพื่อทำความเข้าใจบริบทในช่วงเวลานั้น “ตนซึมซับความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยมาตั้งแต่สมัยเรียนระดับประถม ตั้งแต่อยู่ที่เชียงใหม่ ครอบครัวก็มีความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยมาอยู่แล้ว แต่หลังจากลงมาเรียนในกรุงเทพฯ ที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมพบเจออำนาจนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยที่เข้มข้นมากๆ...
ความคิดเห็น
คนเหนือเดือนตุลา: ปาหนัน-จีรวรรณ โสดาวัฒน์ ‘มังกรน้อย’ เบ้าหลอมเยาวชน
เรียบเรียง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “ช่วงก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ คุณพ่อเป็นชาวนาธรรมดา ในอำเภอดอยสะเก็ด ชีวิตของชาวนาทั่วไปในภาคเหนือถูกเอาเปรียบจากเจ้าที่ดิน ถ้ามีเงินไม่พอจ่ายค่าเช่า ไม่พอเลี้ยงครอบครัว ชาวนาก็ต้มเหล้าขายเอาเงินมาเลี้ยงลูกเมีย ก็ถูกเจ้าหน้าที่สรรพสามิตไล่จับ เข้าไปเก็บฝืนในป่าเพื่อนำมาเผาถ่านขายก็ถูกเจ้าหน้าที่ป่าไม้ไล่จับอีก เรื่องเหล่านี้เองชาวนาภาคเหนือจึงเป็นผู้คนที่ถูกกดดันจากเจ้าหน้าที่รัฐกับนายทุนอย่างไม่เป็นธรรม” ปาหนัน-จีรวรรณ โสดาวัฒน์...
ความคิดเห็น
ความทรงจำเดือนตุลา ความทรงจำแบบทหารผ่านศึก?
เรียบเรียง: ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ การบรรยายครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของเสวนาในวาระครบรอบ 50 ปี ขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 “ย้อนรำลึกประวัติศาสตร์การต่อสู้กึ่งศตวรรษ เดือนตุลา และการเมืองเรื่องของความทรงจำ” ร่วมบรรยายโดย ดิน บัวแดง อาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์...
เจาะประเด็น
คนเหนือเดือนตุลา: 6 ตุลา 19 ในเชียงใหม่
ภาพจำของโศกนาฏกรรมความรุนแรงที่เกิดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ที่เจ้าหน้าที่รัฐร่วมมือกับกลุ่มฝ่ายชาตินิยมขวาจัดร่วมมือกันสังหารเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างโหดเหี้ยมกลางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นภาพจำที่ฝั่งลึกแต่ก็ถูกหลงลืมในหน้าประวัติศาสตร์กระแสหลักของการเมืองไทย แต่เหตุการณ์ 6 ตุลา 19 นั้นไม่ได้ปักหลักความโหดร้ายไว้เพียงที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แต่เพียงแห่งเดียว ซึ่งสั่นสะเทือนไปทั่วประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ก็มีการประท้วงเกิดขึ้นเช่นเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม จนถึงช่วงสายของวันที่ 6...
เจาะประเด็น
‘ไพบูลย์ เลาหจิรพันธ์’ คนเชียงรายที่เสียชีวิตในวันฟ้าสาง 6 ตุลาคม 2519
ความรุนแรงในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เจ้าหน้าที่รัฐบาลและกลุ่มฝ่ายชาตินิยมขวาจัดหลายกลุ่มร่วมมือกันปราบปรามสังหารหมู่นักศึกษาและประชาชนอย่างเลือดเย็นใจกลางกรุง ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์และท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีมูลเหตุการณ์คือการที่ประชาชนออกมาประท้วงการเดินกลับมาบวชเป็นภิกษุที่วัดบวรนิเวศวิหาร ของจอมพล ถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี มีการบิดเบือนข่าวสาร ใส่ร้ายป้ายสีนักศึกษาและประชาชนที่ออกมาประท้วง ถูกกล่าวหาว่าเป็น คอมมิวนิสต์ รวมไปถึงการกล่าวหาว่ามีการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จึงสร้างความไม่พอใจให้แกกลุ่มฝ่ายชาตินิยมขวาจัดเช่น...
ความคิดเห็น
บางความทรงจำถูกตัดตอนและแทนที่ด้วยความว่าง.. เกินจะรับรู้
เราจดจำเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 กันแบบไหน?ไม่ว่าเราจะจดจำแบบไหนหรือสังคมไทยอยากให้จดจำแบบใด แต่อย่าลืมว่านี้ประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาแสนสั้นแต่เจ็บลึกไม่มีวันหายนี่คือเรื่องเล่านอกกรุงเทพฯและความเจ็บปวดไม่ได้มีอยู่ที่ธรรมศาสตร์เพียงที่เดียว“คนเหนือเดือนตุลา” หลากเรื่องราวจากปากคำของเหล่าผู้คนภาคเหนือของไทย ที่แม้บางคนอาจจะไม่ได้เกิดในอาณาบริเวณนี้ แต่ต่างมีความทรงจำ ทั้งก่อนการเกิดขึ้นของเหตุการณ์ 14 ตุลา 16...