คำสำคัญ: Journalism that Builds Bridges

ไม่ได้ร้องขอ หากแต่มาเพื่อบอกกล่าว ‘บุญร่มไทร’ คนจนเมืองริมทางรถไฟ ความเจริญที่ข้ามผ่านคนริมขอบ   

ช่วงสายของวันธรรมดาทั่วไปในปลายเดือนกุมภาพันธ์ ทุกอย่างดำเนินไปตามครรลองอย่างที่มันควรจะเป็น รถไฟขบวนมหาชน หมายที่ 371 ได้ชะลอความเร็วเพื่อหยุดรับผู้คนเดินทางกลับบ้านสู่ภาคตะวันออก ชานชาลาพญาไท ในเขตราชเทวีแห่งนี้ หากเงยหน้ามองเพียงตึกสูงใหญ่ระฟ้าในกรุงเทพมหานคร  คงไม่อาจเห็นชีวิตผู้คนตัวเล็กริมทาง ที่ถูกผลักไสให้ใช้ชีวิตอย่างหลบซ่อนในหลืบเมือง อย่าง ชุมชนบ้านบุญร่มไทร (ภาพ : โยษิตา สินบัว) ชุมชนริมทางรถไฟเขตพญาไท  มีผู้คนอาศัยกว่า...

ชวนโหลดคู่มือนักข่าวพลเมืองฉบับพกพา Journalism that Builds Bridges

หนังสือ “วารสารศาสตร์ที่สร้างสะพาน คู่มือนักข่าวนักข่าวพลเมืองฉบับพกพา” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวารสารศาสตร์เพื่อการสร้างสะพาน (Journalism that Builds Bridges) ที่ต้องการผนึกกำลังสื่อชายขอบหรือภูมิภาคที่เป็นสื่อทางเลือกด้วยการเชื่อมสัมพันธ์กันผ่าน “สะพาน” เพราะเรื่องราวของคนชายขอบมักถูกหลงลืมจากสื่อส่วนกลางจนไม่เกิดการแก้ไขปัญหา ดังนั้นสื่อต้องช่วยกันส่งเสียงให้ดังขึ้น  การรวมตัวของสื่อชายขอบ ได้แก่ ประชาไท (กรุงเทพฯ) เดอะอีสานเรคคอร์ด (ขอนแก่น)...

‘ด็อบบี้เป็นอิสระ’ อิสรภาพนอกกรงขังในวันที่ข้อเท้าไร้พันธนาการจาก EM ของ รุ้ง ปนัสยา

เรื่อง: โยษิตา สินบัว รายงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้โครงการ Journalism that Builds Bridges เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ 21 ม.ค. 2566 ทางเว็บไซต์ ประชาไท รุ้ง ปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล เป็นหนึ่งในแกนนำนักศึกษาที่ทลายเพดานการเมืองไทยจากการอ่าน 10 ข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ในการชุมนุม #ธรรมศาสตร์จะไม่ทน...

ช่วยกันเอาความจริงออกมา’ ศิลปะ ‘ซุกไว้ใต้หมอน’ ของนิสิตจุฬาฯ กลับโดนแจ้งความ ม.112

เรื่อง: พิชญ์สินี ชัยทวีธรรม รายงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้โครงการ Journalism that Builds Bridges เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ 7 มี.ค.2566 ทางเว็บไซต์ ประชาไท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซุกอะไรไว้ใต้หมอน ซุกไว้ใต้หมอน ของ เพชรนิล สุขจันทร์ นักศึกษาคณะศิลปกรรมปี 3 เทอม 2 ...

เสียงจาก ‘ประมงพื้นบ้าน’ รุ่น (เกือบ) สุดท้ายของ ‘หาดวอนนภา’

เรื่องและภาพ: Dot easterners  รายงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้โครงการ Journalism that Builds Bridges เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ 15 มี.ค.2566 ทางเว็บไซต์ ประชาไท ‘หมดจากเรา ก็อาจไม่มีใครแล้ว’ เสียงจาก วิทูร นาคสุวรรณ และ มานพ ใจปลื้ม...

ความลักลั่นของคำสั่งประกันตัวคดีการเมืองในปี 2565

เรื่อง: ณัฐฐา อัชฌานุเคราะห์ /ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน  รายงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้โครงการ Journalism that Builds Bridges เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ 24 ม.ค.2566 ทางเว็บไซต์ ประชาไท “ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจําเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดมิได้” เป็นบทบัญญัติที่ได้รับรองสิทธิไว้อย่างชัดเจนในกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560...