คำสำคัญ: PM 2.5

เครือข่ายศิลปินแสดงศิลปะ ‘เชียงใหม่หายใจไม่ออก’ สะท้อนวิกฤตฝุ่นพิษภาคเหนือ

2 มีนาคม 2568 กลุ่มศิลปินและภาคประชาชนร่วมกันจัดกิจกรรม ‘เชียงใหม่หายใจไม่ออก’  เพื่อแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ถึงปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่น PM 2.5 ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตของประชาชนในภาคเหนือ ณ ลานประตูท่าแพ จ.เชียงใหม่ โดยประกอบไปด้วยวงเสวนา การแสดงศิลปะ และนิทรรศการ ที่มุ่งสร้างความตระหนักรู้และเรียกร้องให้ภาครัฐเร่งแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างจริงจัง ภายในงานมีวงเสวนาหัวข้อ ‘เชียงใหม่หายใจไม่ออก’...

ไตรอัปลักษณ์แห่งรัฐไทยกับการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5

“รัฐไทยมีปัญหา 2 แบบนั่นคือ Over-centralized รวมศูนย์อำนาจมากเกินไป และ Over-fragmented รวมศูนย์เข้าไปแต่กลับแตกกระจายกัน” รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ชี้ให้เห็นว่าการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 นั้น ไม่สามารถพิจารณาเพียงแค่ในมิติของสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังต้องวิเคราะห์ผ่านโครงสร้างอำนาจของรัฐ...

‘ระบบตรวจสอบย้อนกลับ’ แนวข้อบังคับภาคธุรกิจกับปัญหาฝุ่นข้ามแดน

ปัญหามลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะฝุ่น PM 2.5 เป็นประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในหลายพื้นที่ของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน โดยมีสาเหตุมาจากทั้งปัจจัยภายในประเทศและปัจจัยข้ามพรมแดน กรกนก วัฒนภูมิ ตัวแทนเครือข่ายติดตามการลงทุนไทยและความรับผิดชอบข้ามพรมแดน ETOs Watch ได้กล่าวถึงการรับมือกับปัญหานี้ ทั้งในมุมมองของภาครัฐและภาคธุรกิจ รวมถึงข้อท้าทายและแนวทางการแก้ไขที่จำเป็นต้องดำเนินการอย่างจริงจัง กรกนกตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการดำเนินงานของภาครัฐ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากเว็บไซต์ ครม. พบว่า...

เมื่อการตัดสินใจยังกระจุกที่ส่วนกลาง กระจายอำนาจก็แก้ปัญหาฝุ่นไม่ได้ 

“ปัญหาใหญ่ของฝุ่นควันภาคเหนือ คือการที่ผู้ว่าราชการไม่มีอำนาจหน้าที่ในการจัดการต้นตอของหมอกควัน เพราะหน่วยงานที่ดูแลคือส่วนกลาง”  ผศ.ดร.ณัฐกร วิทิตานนท์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พูดถึงการกระจายอำนาจของรัฐกับการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ในภาคเหนือ ซึ่งเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความซับซ้อนสูง และมีความเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ แต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาที่ต้นเหตุได้อย่างแท้จริง ณัฐกรเล่าว่าในอดีตเขาเคยมองว่าการกระจายอำนาจเป็นแนวทาง ที่สามารถช่วยแก้ปัญหา...

ความคืบหน้า ‘ร่างแผนฝุ่นชาติ ฉบับ 2’ แก้ฝุ่นภาคเหนือได้หรือไม่ ?

ความล่าช้าของรัฐบาลในการกำหนดนโยบายระดับประเทศอย่างการจัดการปัญหาวิกฤตฝุ่น PM2.5 ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนเป็นวงกว้างที่เรื้อรังและนับวันก็รุนแรงมากยิ่งขึ้น ทำให้เในวันที่ 19 มกราคม 2567 เครือข่ายประชาชนภาคเหนือยื่นฟ้องนายกรัฐมนตรี (พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา) และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จนนำไปสู่คำพิพากษาของศาลปกครองเชียงใหม่พร้อมมีคำสั่งให้นายกรัฐมนตรีและคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเร่งจัดทำแผนฉุกเฉิน เพื่อควบคุมและบรรเทาปัญหาฝุ่นพิษในภาคเหนือให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน แต่กระบวนการดำเนินการกลับล่าช้าออกไป เนื่องจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดเมื่อวันที่...

ห้ามเผาที่ไร้มาตรการรองรับ ช่องโหว่ของรัฐ ความท้าทายวิถีเกษตรภาคเหนือ

‘การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์’ เป็นปัญหาหลักที่ถูกหลายคนมองว่าเป็น ‘ต้นตอของฝุ่น PM 2.5’ รัฐบาลไทยมีคำสั่งห้ามเกษตรกรเผาพื้นที่เกษตร แต่ถึงอย่างนั้นก็ไม่ได้มีมาตรการใดเพื่อรองรับการทำเกษตรของพวกเขา ชนกนันทน์ นันตะวัน นักวิชาการที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับปัญหามลพิษทางอากาศ ตัวแทนภาคประชาชน ชวนเปิดมุมมองเรื่องผลกระทบของมลพิษในภาคเหนือและมลพิษข้ามพรมแดน เพื่อสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2568 ที่ผ่านมา...

สื่อ Lanner เปิด 2 ข้อท้าทายสื่อสารประเด็นฝุ่นถึงภาครัฐ-ประชาชน

“ปัจจุบัน คนรู้จัก PM2.5 แล้ว แต่ยังขาดการคำถามว่า ‘ใคร’ ควรเป็นผู้รับผิดชอบในการแก้ปัญหานี้ เราหรือหน่วยงานรัฐ?”  วิชชากร นวลฝั้น ตัวแทนสื่อจากสำนักข่าว Lanner ได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับผู้รับผิดชอบในการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 พร้อมพูดถึงแนวทางการสื่อสารประเด็นฝุ่น PM2.5 สองประเด็นสำคัญคือ 1.การพัฒนาการสื่อสารเกี่ยวกับปัญหาฝุ่น...

‘มีแผนแต่ไม่มีประสิทธิภาพ’ แลมองการแก้ปัญหาของรัฐ ในวันที่คนจมฝุ่น  ผ่าน 4 คดีฝุ่นภาคเหนือ

แม้ประเทศไทยจะมีกฎหมายสิ่งแวดล้อม แต่สิทธิของประชาชนยังคงถูกละเมิดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะสิทธิในการมีอากาศหายใจที่ดี เมื่อประชาชนกำลังจมฝุ่น และปัญหาฝุ่นควันก็ไม่ใช่ปัญหาของคนกลุ่มเดียว หากหน่วยงานรัฐยังมองไม่เห็นถึงปัญหา ไม่ออกกฏหมายบังคับอย่างที่ควรจะเป็น แล้วปัญหาฝุ่นจะถูกแก้ไขได้เมื่อไหร่? ผศ.ดร.นัทมน คงเจริญ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถอดบทเรียนคดีฝุ่นภาคเหนือและมองการทำงานของรัฐ  นัทมน หนึ่งในผู้ฟ้องคดีของ รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล และพวกอีก...

พุธิตา ชี้ พ.ร.บ.อากาศสะอาด บางมาตราสอดไส้สกปรก ปิดปากประชาชน-สื่อมวลชน

17 มกราคม 2567 เวลา 15:27 น. ณ อาคารรัฐสภา ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ รับหลักการ พรบ.อากาศสะอาด ทั้ง 7 ฉบับ ด้วยคะแนนเอกฉันท์ท่วมท้น 443 ต่อ...

อยู่รอดปอดพัง: เสียงจากแคมป์คนไทใหญ่ในเชียงใหม่ต่อปัญหาฝุ่น PM 2.5

เรื่อง: ณัฏฐชัย ศรีเจริญ, นันทัชพร ศรีจันทร์ ภาพ: นันทัชพร ศรีจันทร์ ปัญหาฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาที่มีความรุนแรงขั้นวิกฤติที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในประเทศไทยโดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ ทั้งยังส่งผลให้เกิดปัญหาภาคเศรษฐกิจตามมาอีกหลายระลอก สาเหตุหลักส่วนหนึ่งเกิดจากการทำ ‘เกษตรพันธะสัญญา’ (Contract framing) ที่ภาครัฐได้ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งในประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน ในปี...

ชาวบ้านสะท้อนปัญหามาตรการจัดการไฟ-PM 2.5 ภาคเหนือและพากรมควบคุมมลพิษลงพื้นที่ดูไร่หมุนเวียน

31 มกราคม 2566 เมื่อวันที่ 31 ม.ค. 2565 เวลา 16.00 น. ปิ่นสักก์ สุรัสวดี อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ พร้อมด้วยมูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ มูลนิธิธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ลงพื้นที่ชุมชนปกาเกอะญอบ้านสบลาน...
slot deposit pulsa slot mahjong